Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4320
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKawisara WORAPHATKHACHONKUNen
dc.contributorกวิสรา วรภัทรขจรกุลth
dc.contributor.advisorSitthichai Laisemaen
dc.contributor.advisorสิทธิชัย ลายเสมาth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-03T06:48:23Z-
dc.date.available2023-08-03T06:48:23Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4320-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to 1) To develop motion graphic media with learning activities according to the STEM Education of Science (technology) for student of Prathomsuksa 3. 2) To compare the computational thinking skills of students before and after learning with motion graphics media and learning activities according to the STEM Education. 3) To study the students' satisfaction with motion graphics media and learning activities according to the STEM Education. In order to promote computational thinking skills of Science (Technology). The sample group which be used in this research is 48 student of Prathomsuksa 3 of Wat Don Sai School. (Suwan Ratupatham) which was obtained from simple random sampling  by lottery method The research instruments consisted of: 1) the structure interview 2) Learning activity plans based on STEM education guidelines 3) Motion Graphic Media of Science (Technology) 4) Computational thinking skills assessment form 5) Satisfaction questionnaire for motion graphic media. Data analysis is using mean, standard deviation, Dependent t-test, media efficiency determination E1/E2. The results of this research were as 1) The quality of motion graphics media with STEM education activities to promote computational thinking skills in Science (technology) was at a very good level.  2) Assessment results of computational thinking abilities of students learning with motion graphic media combined with STEM education activities to promote computational thinking skills after learning was significantly higher than before learning at the level of .05  3) Students’ satisfaction found that the overall quality of motion graphics media design content were overall very good.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาสื่อโมชันกราฟิกร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา วิชาวิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยี) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3  2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงคำนวณของนักเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยสื่อโมชันกราฟิกร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิกร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณ วิชาวิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยี) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดดอนทราย (สุวรรณรัฐราษฎร์อุปถัมภ์)  จำนวน 48 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา  3) สื่อโมชันกราฟิกวิชาวิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยี) 4) แบบประเมินทักษะการคิดเชิงคำนวณ 5) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิก การวิเคราะข้อมูล คือ ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test แบบ Dependent การหาประสิทธิภาพสื่อ E1/E2 ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพสื่อโมชันกราฟิกร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา วิชาวิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยี) มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก 2) ผลการประเมินความสามารถในการคิดเชิงคำนวณของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อโมชันกราฟิกร่วมกับกิจกรรมตามแนวทางสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิกร่วมกับกิจกรรมสะเต็มศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงคำนวณ มีคุณภาพโดยรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาth
dc.subjectการใช้สื่อโมชันกราฟิกth
dc.subjectการคิดเชิงคำนวณth
dc.subjectSTEM EDUCATION WITH LEARNING MANAGEMENTen
dc.subjectMOTION GRAPHIIC USAGEen
dc.subjectCOMPUTATIONAL THINKINGen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationComputer scienceen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF MOTION GRAPHIC WITH USING STEM EDUCATION LEARNING TO ENHANCE COMPUTATIONAL THINKING IN SCIENCE (TECHNOLOGY) OF PRATHOMSUKSA 3 STUDENTS SCHOOL IN THE PHOTHARAM 1 NETWORKen
dc.titleการพัฒนาสื่อโมชันกราฟิกร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงคำนวณ วิชาวิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยี) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3โรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายโพธารามที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSitthichai Laisemaen
dc.contributor.coadvisorสิทธิชัย ลายเสมาth
dc.contributor.emailadvisorlaisema_s@su.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorlaisema_s@su.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Technologyen
dc.description.degreedisciplineเทคโนโลยีการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61257406.pdf5.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.