Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChutima JETATHIKARNen
dc.contributorชุติมา เจตอธิการth
dc.contributor.advisorUbonwan Songsermen
dc.contributor.advisorอุบลวรรณ ส่งเสริมth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-03T06:48:29Z-
dc.date.available2023-08-03T06:48:29Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4372-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) Compare the mathematic problem solving taught before and after the TGT technique with flipped classroom concept in grade 5 students and 2) study students’ grade 5 satisfactions towards the TGT technique with flipped classroom. The research sample Grade 5/1 students at Watpuranawas School who are studying in the second semester of the academic year 2022, 28 people. The instruments used for collecting data consisted of: 1) lesson plans, 2) the ability test in mathematic problem solving  and 3) the satisfactions towards the TGT technique with flipped classroom. The statistical analysis employed were mean (M), standard deviation (SD) and t-test dependent. The results of the study were as follows. 1. The mathematics problem solving taught ability of fifth grade students after learning by the TGT technique with flipped classroom higher than before learning at the significance  level of .05. 2. The satisfactions of fifth grade students towards the TGT technique with flipped classroom were very high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนวัดปุรณาวาส สังกัดสำนักงานเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD), สถิติทดสอบค่าที แบบไม่อิสระจากกัน   (t-test Dependent) ผลการวิจัย พบว่า 1. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectเทคนิค TGT / ห้องเรียนกลับด้าน / ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์th
dc.subjectTGT TECHNIQUE / FLIPPED CLASSROOM / MATHEMATICS PROBLEM SOLVINGen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF MATHEMATICS PROBLEM SOLVING TAUGHTBY TGT TECHNIQUE WITH FLIPPED CLASSROOMFOR THE STUDENTS IN FIFTH GRADEen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorUbonwan Songsermen
dc.contributor.coadvisorอุบลวรรณ ส่งเสริมth
dc.contributor.emailadvisorUbonwan.su@gmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorUbonwan.su@gmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineหลักสูตรและวิธีสอนth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630620125.pdf11.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.