Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4381
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKunkaew KHLAIKAEWen
dc.contributorกุลแก้ว คล้ายแก้วth
dc.contributor.advisorKanit Kheovichaien
dc.contributor.advisorคณิต เขียววิชัยth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-03T06:48:30Z-
dc.date.available2023-08-03T06:48:30Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4381-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the conditions of the area that led to the developing and creation of a new identity of glamping model within the context of world heritage tourism in Thailand. This research used qualitative methodologies based on participatory action research (PAR), the appreciation influence control (AIC) and connoisseurship technique. The results found as follows: Firstly, Sukhothai was classified as a World Heritage Site by the United Nations Educational, Scientific and Cultural Organisation (UNESCO). These areas also have 3 distinctive spatial identities of the area based cultural heritage identity for tourism as follows: Craft and Folk Arts Cultural identity, the Cultural Landscape identity, and the Culture identity of Historical and Socio-cultural to benefits for tourism. Secondly, the new identity for glamping according to the standard is KRAJOM-THAI model which is an abbreviation of Knowledge based Tourism, Representative to Identity & Uniqueness, Aesthetic Significance with Universal Value, Justified by Glamping Quality Standard, Outdoor Accommodation, Management, Technology & Innovation, Human Creative, A Community Participation, Integrated with Cultural or Natural Area. Finally, the connoisseurship seminar process, found that the experts reached a consensus for the second type of KRAJOM-THAI model uses the symbolic named for glamping of Sukhothai 's World Heritage site.en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพพื้นที่ที่นำไปสู่การสร้างรูปแบบที่พักนักท่องเที่ยวประเภทเต็นท์กระโจมอัตลักษณ์ใหม่ในบริบทการท่องเที่ยวมรดกโลกของประเทศไทย 2) เพื่อพัฒนารูปแบบที่พักนักท่องเที่ยวประเภทเต็นท์กระโจมอัตลักษณ์ใหม่ในบริบทการท่องเที่ยวมรดกโลกของประเทศไทย 3) เพื่อประเมินรูปแบบที่พักนักท่องเที่ยวประเภทเต็นท์กระโจมอัตลักษณ์ใหม่ในบริบทการท่องเที่ยวมรดกโลกของประเทศไทยตามเกณฑ์มาตรฐาน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบส่วนร่วม (Participatory Action Research - PAR) ร่วมกับเทคนิคการวางแผนแบบมีส่วนร่วม (Appreciation Influence Control - AIC) และเทคนิคการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) ผลการวิจัยพบว่า ประการแรก สภาพพื้นที่ของเมืองสุโขทัยได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นเมืองมรดกโลกจากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organisation - UNESCO) ชุมชนสุโขทัยมีอัตลักษณ์มรดกวัฒนธรรมเชิงพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยว 3 ด้าน คือ อัตลักษณ์ด้านศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน อัตลักษณ์ด้านภูมิทัศน์วัฒนธรรม และอัตลักษณ์ด้านประวัติศาสตร์-สังคมวัฒนธรรม ประการที่สอง รูปแบบที่พักนักท่องเที่ยวเต็นท์กระโจมอัตลักษณ์ใหม่ในบริบทการท่องเที่ยวมรดกโลกของประเทศไทย คือ กระโจมไทยโมเดล ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้ด้านการท่องเที่ยว สิ่งที่แสดงถึงอัตลักษณ์และเอกลักษณ์เฉพาะ ความงดงามตามคุณค่าสากล การแสดงให้เห็นถึงคุณภาพมาตรฐานของที่พักเต็นท์กระโจม ที่พักแบบกลางแจ้ง การจัดการ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของมนุษย์ การมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่และการบูรณาการกับแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมหรือพื้นที่ทางธรรมชาติ ประการสุดท้าย การประเมินรูปแบบโดยการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญพบว่า กระโจมไทยแบบที่ 2 เป็นแบบที่แสดงอัตลักษณ์ใหม่ในพื้นที่สุโขทัยเมืองมรดกโลกth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectเต็นท์กระโจมth
dc.subjectรูปแบบที่พักนักท่องเที่ยวอัตลักษณ์ใหม่th
dc.subjectรูปแบบนักท่องเที่ยวเต็นท์กระโจมth
dc.subjectการท่องเที่ยวมรดกโลกth
dc.subjectGlampingen
dc.subjectA New Indentity of Tourist Lodgingen
dc.subjectModel of Glampingen
dc.subjectWorld Heritage Tourismen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationAccommodation and food service activitiesen
dc.subject.classificationTraining for teachers with subject specialisationen
dc.titleTHE MODEL DEVELOPMENT OF A NEW IDENTITY OF GLAMPING WITHIN THE CONTEXT OF WORLD HERITAGE TOURISM IN THAILANDen
dc.titleการพัฒนารูปแบบที่พักนักท่องเที่ยวเต็นท์กระโจมอัตลักษณ์ใหม่ ในบริบทการท่องเที่ยวมรดกโลกของประเทศไทยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKanit Kheovichaien
dc.contributor.coadvisorคณิต เขียววิชัยth
dc.contributor.emailadvisorKHEOVICHAI_K@SU.AC.TH
dc.contributor.emailcoadvisorKHEOVICHAI_K@SU.AC.TH
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineEducation Foundationsen
dc.description.degreedisciplineพื้นฐานทางการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630630048.pdf7.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.