Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/438
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพุทจิระ, วันวิสา-
dc.contributor.authorPUTJIRA, WANWISA-
dc.date.accessioned2017-08-27T03:10:14Z-
dc.date.available2017-08-27T03:10:14Z-
dc.date.issued2558-10-01-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/438-
dc.description53253404 ; สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ -- วันวิสา พุทจิระen_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Pre- Experimental Research) แบบแผนการวิจัยแบบ One –Shot Case Study มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการคิดเชิงพีชคณิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Model Method และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดย Model Method กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5/2 โรงเรียนวัดจันทาราม (ตั้งตรงจิตร5) อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ปีการศึกษา 2557 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง เศษส่วน ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ Model Method แบบทดสอบวัดการคิดเชิงพีชคณิต เรื่อง เศษส่วน และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Model Method สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย (x) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1.ความสามารถในการคิดเชิงพีชคณิต เรื่อง เศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้โดย Model Method อยู่ในระดับดี 2.ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Model Method อยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยนักเรียนเห็นด้วยมากในด้านบรรยากาศในการเรียนรู้เป็นอันดับที่ 1 รองลงมา คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ The research is an experimental research (Pre- Experimental Research) The research One –Shot Case Study form. The research aims to 1) Learning about algebraic thinking of grade 5 student after learning management by Model Method and 3) Learning about Grade 5 Students Estimate on learning management by Model Method. Representative Sample is in Grade 5 students class 2 from Watjantaram School (Tangtrongjit 5) Banpong,Ratchaburi Academic Year 2014 Quantity 30 people. The instrument used in research consist of fraction learning plan that management by Model Method, algebraic thinking test about fraction and estimate questionnaire of student on learning management by Model Method, The statistics used for : data analysis ,averages (x) ,The standard deviation (S.D.) and Content Analysis. Research results 1.The algebraic about fractions thinking ability of grade 5 student after learning management by Model Method is in a good level. 2.Grade 5 Students Estimate on learning management by Model Method is much agree. First, The students agreed with the atmosphere in learning is ranked, The second is the management of learning activities and the benefits of learning.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Model Methoden_US
dc.subjectความสามารถการคิดเชิงพีชคณิตen_US
dc.subjectLEARING MANAGEMENT ACCORDING TO MODEL METHODen_US
dc.subjectALGEBRAIC THINKING SKILLS NATIONen_US
dc.titleการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Model Method เพื่อพัฒนาการคิดเชิงพีชคณิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeREARNING MANAGEMENT ACCORDING TO MODEL METHOD FOR DEVELOP ALGEBRAIC THINKING OF GRADE 5 STUDENT.en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
53253404 วันวิสา พุทจิระ .pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.