Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAnuchit KASIRAKen
dc.contributorอนุชิต กะสิรักษ์th
dc.contributor.advisorSuabsagun Yooyuanyongen
dc.contributor.advisorสืบสกุล อยู่ยืนยงth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-11T02:28:50Z-
dc.date.available2023-08-11T02:28:50Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4425-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) develop lesson plans by using Polya's problem-solving process with the Bar model on Mathematics problem solving; addition, subtraction, multiplication, and division for the sixth-grade students according to the standard criterion of 75/75, 2) develop the sixth-grade students’ learning achievement after studying through Polya's problem-solving process with the Bar model should higher than before studying, 3) compare Mathematics problem-solving skills on addition, subtraction, multiplication, and division of the sixth-grade students after studying through Polya's problem-solving process with the Bar model according to the criterion of 70 percent and 4) survey the sixth-grade students’ satisfaction with Polya's problem-solving process with the Bar model. The research tool was a one group pretest posttest design. The research instruments were 1) lesson plans, 2) a Mathematics problem-solving test, 3) a Mathematics learning achievement test, and 4) a questionnaire to survey the students’ satisfaction toward Polya's problem-solving process with the Bar model. The data were analyzed by mean, standard deviation, t-test for one sample and t-test for dependent sample. The research results revealed the following:1) Lesson plans in the development of mathematics problem-solving skills by using Polya's problem-solving process with the Bar model on Mathematics problem-solving; addition, subtraction, multiplication, and division of the sixth-grade students were significantly higher than the criterion.2) Mathematics learning achievement of the sixth-grade students after studying through Polya's problem-solving process with the Bar model was higher than before studying at the statistical level of .05.3) Mathematics problem-solving skills of the sixth-grade students after studying through Polya's problem-solving process with the Bar model was higher than the criterion of 70 percent at the statistical level of .05.4) Overall, the sixth-grade students’ satisfaction toward Polya's problem-solving process with the Bar model on Mathematics problem solving; addition, subtraction, multiplication, and division for the sixth-grade level for the three aspects was at a good level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับวาดรูปบาร์โมเดล เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อพัฒนานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล เรื่องโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารและโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล กับเกณฑ์ร้อยละ 70 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยโดยใช้เทคนิคของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้เทคนิคของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล เรื่องโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารระคน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิคของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หาร 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิคของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 4) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้เทคนิคของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล  ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test for one sample และ t-test for dependent sample ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล เรื่อง การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ด้วยการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิคของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล สำหรับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหา การบวก การลบ การคูณ การหารและโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการแก้ปัญหาของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดลสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ผลจากการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่ต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยโดยใช้เทคนิคของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจรวมทั้งสามด้านนั้น อยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารth
dc.subjectเทคนิคของโพลยาth
dc.subjectบาร์โมเดลth
dc.subjectProblem Solving on Addition Subtraction Multiplication and Divisionen
dc.subjectPolya's Problem Solvingen
dc.subjectBar Modelen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF SOLVING MATHEMATICS PROPLEM SKILL USING POLYA TECHNIQUES AND BAR MODEL FOR SIXTH GRADE STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคของโพลยาร่วมกับการวาดรูปบาร์โมเดล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSuabsagun Yooyuanyongen
dc.contributor.coadvisorสืบสกุล อยู่ยืนยงth
dc.contributor.emailadvisoryooynanyong_s@silpakorn.edu
dc.contributor.emailcoadvisoryooynanyong_s@silpakorn.edu
dc.description.degreenameMaster of Science (M.Sc.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMATHEMATICSen
dc.description.degreedisciplineคณิตศาสตร์th
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61316313.pdf9.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.