Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4490
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPrakart Pawa THONGSAWANGen
dc.contributorประกาศ ปาวา ทองสว่างth
dc.contributor.advisorSantidhorn Pooripakdeeen
dc.contributor.advisorสันติธร ภูริภักดีth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-11T02:32:08Z-
dc.date.available2023-08-11T02:32:08Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4490-
dc.description.abstract  The objective of this qualitative research is to study the management of universal design in Thailand’s Eastern Economic Corridor (EEC), with an aim of studying the development of tourism for all and developing a management model of tourism for all of the EEC The research process includes five research steps, and the researcher chose the phenomenology methodology with semi-structured interviews as the research method. The researcher selected the main data sources using criterion-based snowball sampling, including government agencies, private sector organizations, and individuals involved in the management of cultural heritage in the EEC project. This includes representatives of persons with disabilities, persons with hearing impaired, persons with visually impaired, and representatives of the elderly. The researcher triangulated the qualitative research data through group discussions involving a total of 34 tourism experts. The analysis and synthesis of the research results were conducted in a systematic research process to synthesize the research findings and confirm the emerging key directions. The findings led to the development of the so-called “EEC Tourism for ALL Model” which is a tourism management model for all in the Eastern Economic Corridor (EEC). The research findings found that the development of tourism management for all in the EEC should be carried out in line with the “EEC Tourism for ALL Model” which consists of five key directions: Direction 1: Tourist Attractions for All, Direction 2: Infrastructure and Facilities for All, Direction 3: Tourism Human Resource, Direction 4: Tourism Activities, and Direction 5: Image and Confidence in the Quality of Tourism for All.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงคุณภาพ ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการอารยสถาปัตย์ทางการท่องเที่ยว ของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อคนทั้งมวลของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการ ท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวลของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) สำหรับลำดับขั้นตอน ดำเนินการวิจัย และการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทั้ง 5 กระบวนการ ผู้วิจัยเลือกวิธีวิทยาแบบปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology Methodology) ด้วยแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured Interview) ผู้วิจัยเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่ (Snowball sampling) แบบมี เกณฑ์ (Criterion) ประกอบไปด้วย หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการอารยสถาปัตย์ ของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) รวมถึงตัวแทนผู้บกพร่องทางการเคลื่อนไหว ตัวแทนผู้บกพร่องทางการได้ยิน ตัวแทนผู้บกพร่องทางสายตา และตัวแทนผู้สูงอายุ ผู้วิจัยทำการตรวจสอบข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพแบบสามเส้า (Triangulation) ยืนยันผลลัพธ์การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการจัดอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion) โดยนักวิชาการด้านการท่องเที่ยว จำนวนทั้งสิ้นจำนวน 34 ท่าน ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์ และ สรุปผล ภายใต้กระบวนการวิจัยอย่างเป็นลำดับขั้นตอน เพื่อเป็นการสังเคราะห์ที่มาของผลวิจัย และการยืนยัน แนวทางสำคัญที่ปรากฏขึ้น จากผู้เชี่ยวชาญที่แสดงความคิดเห็นที่เป็นฉันทามติร่วมกัน จนปรากฎรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวลของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก “EEC Tourism for All Model” ผลการศึกษา พบว่า การพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวลของโครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ควรดำเนินการในรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวลของ ของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก “EEC Tourism for ALL Model” โดยใช้แนวทาง ทั้งสิ้น 5 แนวทางสำคัญ อันประกอบไปด้วย แนวทางที่ 1 แหล่งท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล แนวทางที่ 2 โครงสร้าง พื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนทั้งมวล แนวทางที่ 3 บุคลากรด้านการท่องเที่ยว แนวทางที่ 4 กิจกรรม ทางการท่องเที่ยว และ แนวทางที่ 5 ภาพลักษณ์และความเชื่อมั่นด้านคุณภาพการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวลth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการอารยสถาปัตย์ / การท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล / โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ (EEC)th
dc.subjectUNIVERSAL DESIGN / TOURISM FOR ALL / EASTERN ECONOMIC CORRIDOR (EEC)en
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationOther service activitiesen
dc.subject.classificationManagement and administrationen
dc.titleDEVELOPMENT OF THE MANAGEMENT OF UNIVERSAL DESIGN IN ACCORDANCE WITH THE TOURISM FOR ALL POLICY OF THE EASTERN ECONOMIC CORRIDOR (EEC)en
dc.titleการพัฒนาการจัดการอารยสถาปัตย์ตามนโยบายการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวลของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSantidhorn Pooripakdeeen
dc.contributor.coadvisorสันติธร ภูริภักดีth
dc.contributor.emailadvisorsantidhorn@gmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorsantidhorn@gmail.com
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60604801.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.