Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWasana CHANTHIMAen
dc.contributorวาสนา จันธิมาth
dc.contributor.advisorSawanya Thammaapiponen
dc.contributor.advisorสวรรยา ธรรมอภิพลth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-11T02:32:09Z-
dc.date.available2023-08-11T02:32:09Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4497-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the behavior of elderly using electronic banking services and to study problems and obstacles for the elderly using electronic banking services in Bangkok. Data collection was conducted using in-depth interviews. Key informants 60 years old and over, people having accounts with Krungthai Bank. Both used 7 people and never used 6 people electronic banking services to conduct financial transactions, totaling 13 people. using the tool is Semi-structured interview form Check the accuracy of qualitative data obtained from in-depth interviews. The methodological using in validation data source tringulation method. The data were then analyzed in terms of content by conducting a Content Analysis, classifying the data according to objectives before analyzing and summarizing the results of the study.             The study found that Most of the respondents had the behavior of using electronic banking services form  ATM withdrawing money from their accounts. The frequency of using service is 1-4 times per month,in the morning, using time 2-3 minutes and transaction amount 600 - 20,000 baht. Reasons for using the service  1) Seeing the benefits of using  2) Easy to use 3) Experience and confidence in using service 4) Referrals for using .Problems and obstacles in using electronic banking services  1) The appearance of the display screen is small,Screen brightness is insufficient,Extensive menu options Including the size of the message is small. 2) The service area is not suitable in a hidden place,Insufficient lighting 3) Responding to signal failure. Reason of elderly who did not use e-banking services  1) safety concerns, 2) personal potential, i.e. vision problems. Lack of knowledge and skills in using technology can't read and lack of availability of equipment to be able to use the service.en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ของผู้สูงอายุ และเพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป และมีบัญชีกับธนาคารกรุงไทย แบ่งเป็นผู้สูงอายุที่เคยใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์จำนวน 7 คน และไม่เคยใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์จำนวน 6 คน รวมจำนวน 13 คน โดยใช้เครื่องมือคือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้วิธีการตรวจสอบความถูกต้องแบบสามเส้าด้านวิธีการ และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาโดยจำแนกข้อมูลตามประเด็นวัตถุประสงค์ก่อนนำมาวิเคราะห์และสรุปผลการศึกษา             ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้บริการผ่านธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ประเภท ATM มากที่สุด โดยทำธุรกรรมถอนเงินจากบัญชี มีความถี่ในการใช้บริการ 1-4 ครั้งต่อเดือน ช่วงเวลาการทำธุรกรรมในช่วงเช้า ระยะเวลาที่ใช้บริการ 2-3 นาที และจำนวนเงินที่ทำรายการ 600 - 20,000 บาท สาเหตุของการใช้บริการมาจาก 1) การเห็นประโยชน์ของการใช้บริการ 2) ความง่ายในการใช้บริการ 3) ประสบการณ์ความเชื่อมั่นในการใช้บริการ 4) การแนะนำบอกต่อในการใช้บริการ ปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ 1) รูปลักษณ์หน้าจอแสดงผลมีขนาดเล็ก ความสว่างของหน้าจอไม่เพียงพอ เมนูตัวเลือกที่มีมาก รวมถึงขนาดของข้อความที่เล็ก 2) พื้นที่การให้บริการไม่เหมาะสมอยู่ในที่ลับตาคน แสงสว่างไม่เพียงพอ 3) การตอบสนองระบบสัญญาณขัดข้อง ในส่วนของผู้สูงอายุที่ไม่ใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์มาจาก1) ความวิตกกังวลด้านความปลอดภัย 2) ศักยภาพส่วนบุคคล ได้แก่ ปัญหาด้านการมองเห็น ขาดความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยี อ่านหนังสือไม่ออก และขาดความพร้อมของอุปกรณ์ที่จะสามาถเข้าใช้บริการ th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectพฤติกรรมการใช้บริการth
dc.subjectธนาคารอิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectusage behavioren
dc.subjectelectronic bankingen
dc.subjectelderlyen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleELECTRONIC BANKING USAGE BEHAVIOR OF THE ELDERLY IN BANGKOKen
dc.titleพฤติกรรมการใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานครth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSawanya Thammaapiponen
dc.contributor.coadvisorสวรรยา ธรรมอภิพลth
dc.contributor.emailadvisorsawanya@ms.su.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsawanya@ms.su.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Arts (M.A.)en
dc.description.degreenameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61601305.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.