Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4554
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nichapat THANASIRIYURAT | en |
dc.contributor | ณิชาภัทร ธนาศิริยุรัตน์ | th |
dc.contributor.advisor | Parinya Roonpho | en |
dc.contributor.advisor | ปริญญา หรุ่นโพธิ์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University | en |
dc.date.accessioned | 2023-08-11T02:32:15Z | - |
dc.date.available | 2023-08-11T02:32:15Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 4/7/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4554 | - |
dc.description.abstract | This research was conducted in the form of quantitative research through methodology of phenomenology in order to study on: 1) self-gift definition of back stage during Coronavirus Disease 2019 pandemic; 2) self-gift process of back stage during Coronavirus Disease 2019 pandemic. Data were collected by using in-depth interview, non-participant observation, and documentary research. There were 18 key informants. The results revealed that back stage defined their self-gift as things generated by intrinsic motives that were varied by personal preference or taste helping to fantasize taste of working life of back stage. Unlike salary men, they had abnormal working hours therefore gifts were compared as motivation from their mind started from goal planning to achievement, self-gift, and financial palling for life and work motivation. Self-gift process was the process with more attention paid to self-care including relaxation, travelling to other provinces or overseas, purchasing products for themselves, and self-health care for rewarding themselves and their bodies after facing with fatigue, exhaustion, and non-scheduled works of back stage. Process of each person was varied by taste and income for allocating as self-gift. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยวิธีปรากฎการณ์วิทยา เพื่อศึกษาถึง 1) ความหมายการให้รางวัลแก่ตนเองของผู้ควบคุมเวที ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) กระบวนการให้รางวัลแก่ตนเองของผู้ควบคุมเวที ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant Observation) การค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล (Documentary Research) ผู้ให้ข้อมูลหลักที่ประกอบอาชีพรับจ้างอิสระ ในสายงานคอนเสิร์ต มีประสบการณ์ทำงานไม่ต่ำกว่า 5 ปี หรือที่เรียกว่า ผู้ควบคุมเวที จำนวน 18 คน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ควบคุมเวที ให้ความหมายการให้รางวัลแก่ตนเองคือ สิ่งที่เกิดจากแรงกระตุ้นภายในจิตใจ แตกต่างกันตามความชอบหรือรสนิยมส่วนตัว เป็นการปรุงแต่งเติมรสชาติของชีวิตวัยทำงานของผู้ควบคุมเวที ชั่วโมงการทำงานที่ไม่ปกติ เหมือนมนุษย์เงินเดือน รางวัลจึงเป็นเหมือนแรงกระตุ้น แรงจูงใจ ที่ออกมาจากภายในจิตใจ ตั้งแต่การวางแผนเป้าหมายการทำงานจนประสบผลสำเร็จ และได้มอบรางวัลให้แก่ตนเองเพื่อตอบแทนตนเอง เพื่อวางแผนทางการเงินให้ชีวิตและเพื่อสร้างแรงจูงใจในการทำงาน กระบวนการให้รางวัลแก่ตนเอง คือ กระบวนการที่ใส่ใจดูแลใจของตนเองมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการพักผ่อนท่องเที่ยวต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ ซื้อสินค้าให้กับตนเอง การดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อตอบแทนตนเองและร่างกายจากความเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย การทำงานที่ไม่เป็นเวลาของผู้ควบคุมเวที ทั้งนี้กระบวนการของแต่ละบุคคล แตกต่างไปตามรสนิยมและรายรับที่ได้เข้ามาเพื่อจัดสรรปันส่วนให้เกิดเป็นรางวัลแก่ตนเอง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การให้ความหมาย | th |
dc.subject | รางวัลแก่ตนเอง | th |
dc.subject | ผู้ควบคุมเวที | th |
dc.subject | โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 | th |
dc.subject | DEFINITION | en |
dc.subject | SELF-GIFT | en |
dc.subject | BACK STAGE | en |
dc.subject | CORONAVIRUS DISEASE 2019 | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | SELF-GIFT DEFINITION AND SELF-GIFT PROCESS OF FREELANCERSDURING CORONAVIRUS DISEASE 2019 PANDEMIC | en |
dc.title | การให้ความหมายและกระบวนการให้รางวัลแก่ตัวเองของผู้มีอาชีพรับจ้างอิสระในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Parinya Roonpho | en |
dc.contributor.coadvisor | ปริญญา หรุ่นโพธิ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | parinya.r@ms.su.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | parinya.r@ms.su.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Arts (M.A.) | en |
dc.description.degreename | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | Management Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641220055.pdf | 2.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.