Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4593
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanarak CHAOKONGCHAKen
dc.contributorธนารักษ์ ชาวกงจักร์th
dc.contributor.advisorTeerapon Hosangaen
dc.contributor.advisorธีรพล หอสง่าth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-11T02:51:49Z-
dc.date.available2023-08-11T02:51:49Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4593-
dc.description.abstractThis thesis has 3 objectives as follows: 1. Create sculptures of distorted human figures from scrap materials for recycling 2. Create sculptures that show the difficulty of human life under urban society. 3. Create sculptures that reflect the relationship between people and objects. Under a society that measures the value of people from objects presented through human forms distorted by sculptures. that reflects the reality that occurs in urban society Through the model of the relationship between people and objects that are important to lives in the city. The researcher therefore presents a creative work on the topic of the life of a group of scavengers. With three pieces of sculpture as follows: 1. The behavior of the group of people collecting junk. 2. Management of the living space of the scavengers 3. Structural impacts that affect livelihoods by wanting to show the hardships of the lives of the scavengers Therefore, it is a communication broadcast that reflects the social situation. It portrays the difficulties of  Scavengers through the form of group sculptures and simulating events through sculptures. that reveals that life and the value of living arising from the effects of urban development and the resulting economy Structural impacts that affect livelihoods resulting in a group of people who are not given the opportunity to improve their quality of life create conditions for creating a good life to be able to live in a society with equal human dignity in order to convey to the general public to know and understanding of lives and the way of life of Scavengers To encourage people in society to understand the lives of the scavengers which falls into the problem of structural inequality of societyen
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อดังนี้ 1.สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมรูปมนุษย์ที่บิดเบี้ยว จากเศษวัสดุการรีไซเคิล 2.เพื่อสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมที่แสดงให้เห็นความยากลำบากในการดำรงชีวิตของมนุษย์ภายใต้สังคมเมือง 3.เพื่อสร้างผลงานประติมากรรมที่สะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างคนกับวัตถุ ภายใต้สังคมที่วัดคุณค่าของคนจากวัตถุนำเสนอผ่านรูปทรงของมนุษย์ที่บิดเบี้ยวด้วยผลงานประติมากรรม ที่สะท้อนภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในสังคมเมือง ผ่านรูปแบบการจำลองเหตุการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับวัตถุแวดล้อมที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตในเมือง ผู้วิจัยจึงนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ ในหัวข้อ การดำรงชีวิตของกลุ่มคนเก็บของเก่า ด้วยผลงานประติมากรรมเป็นจำนวน 3 ชิ้นดังนี้ 1.พฤติกรรมการดำรงชีวิตของกลุ่มคนเก็บของเก่า 2.การจัดการพื้นที่อยู่อาศัยของกลุ่มคนเก็บของเก่า 3.ผลกระทบเชิงโครงสร้างที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิต โดยต้องการแสดงให้เห็นถึงความยากลำบากในการดำรงชีวิตของกลุ่มคนเก็บของเก่า จึงเป็นการถ่ายทอดสื่อสารปรากฏการสะท้อนสภาพสังคม แสดงให้เห็นความยากลำบากในการดำรงชีวิตของกลุ่มคนเก็บของเก่าผ่านรูปแบบของประติมากรรมกลุ่มและจำลองเหตุการณ์ผ่านผลงานประติมากรรม ที่เผยให้เห็นว่าชีวิตและคุณค่าของการดำรงชีวิต ที่เกิดขึ้นจากผลของการพัฒนาเมืองและเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น เกิดผลกระทบเชิงโครงสร้างที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิต ทำให้เกิดกลุ่มคนที่ไม่ได้รับโอกาศที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี เกิดเงื่อนไขในการสร้างชีวิตที่ดี ที่จะสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียม เพื่อถ่ายทอดให้คนทั่วไปได้รับรู้ และเข้าใจในการดำรงชีวิต และวิถีชีวิตของกลุ่มคนเก็บของเก่า เพื่อกระตุ้นเตือนให้ผู้คนในสังคมได้เข้าใจถึงการดำรงชีวิตของกลุ่มคนเก็บของเก่า ที่ตกอยู่ในสภาพปัญหาความเหลื่อมล่ำเชิงโครงสร้างของสังคมth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectกลุ่มคนเก็บของเก่าth
dc.subjectประติมากรรมth
dc.subjectรีไซเคิล-รียูสth
dc.subjectscavengersen
dc.subjectSculptureen
dc.subjectrecycle-reuseen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationArts, entertainment and recreationen
dc.subject.classificationFine artsen
dc.titleThe lives of scavengersen
dc.titleการดำรงชีวิตของกลุ่มคนเก็บของเก่าth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorTeerapon Hosangaen
dc.contributor.coadvisorธีรพล หอสง่าth
dc.contributor.emailadvisorteeraponhosanga@hotmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorteeraponhosanga@hotmail.com
dc.description.degreenameMaster of Fine Arts (M.F.A.)en
dc.description.degreenameศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61002203.pdf4.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.