Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4648
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNattawut TIMASARTen
dc.contributorณัฐวุฒิ ทิมาศาสตร์th
dc.contributor.advisorPheereeya Boonchaiyaprueken
dc.contributor.advisorพีรียา บุญชัยพฤกษ์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-11T02:53:37Z-
dc.date.available2023-08-11T02:53:37Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4648-
dc.description.abstractThis study examines the connectivity between public and private spaces surrounding mass transit rail stations, an issue that has arisen due to the expansion of the public mass transit rail network from central Bangkok to its outskirts and the surrounding metropolitan areas. This expansion coincides with adjustments made to the land use plan. We selected the Lam Sali intersection as our case study with the objective of formulating strategies for the development and connectivity of the network around the rail station, based on urban planning requirements.                       The study concludes that the relationship between public and private areas is integral to the study's framework. The establishment of a conceptual framework is, therefore, crucial. It incorporates factors such as: 1. Accessibility and location-related considerations for developing areas around the station, 2. Criteria for land use and building utilization, 3. Aspects related to plot size and the types of open space usage. Our results highlighted the importance of these three factors in developing strategies for area connectivity. These factors aided in identifying optimal areas to establish connections between Ladprao and Ramkhamhaeng Roads, effectively linking the stations in the area. They serve as useful considerations for design and include: the commercial axis, the community and environmental opposition axis, and the government area axis. Each of these axes can effectively bridge public and private areas, with differing potentials based on their unique characteristics.en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยในครั้งนี้มุ่งเน้นที่ปัญหาเรื่องการเชื่อมต่อโครงข่ายพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชนที่อยู่รอบบริเวณสถานีรถไฟฟ้า ซึ่งเกิดจากรูปแบบของการขยายตัวของโครงข่ายรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสาธารณะ ที่ขยายตัวจากจุดศูนย์กลางของกรุงเทพมหานครจนมาถึงเขตกรุงเทพมหานครชั้นนอกและเขตปริมณฑล กับการปรับปรุงแผนของประเภทของการใช้ที่ดิน โดยได้เลือกพื้นที่กรณีศึกษาที่อยู่ในบริเวณชุมทางสถานีลำสาลี ซึ่งมีวัตถุประสงค์การศึกษาเพื่อสร้างกลยุทธ์การพัฒนาและเชื่อมต่อโครงข่ายรอบบริเวณสถานีรถไฟฟ้าจากข้อกำหนดผังเมืองรวมกรณีศึกษาชุมทางลำสาลี              โดยข้อสรุปการเชื่อมต่อพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชนนั้นมาจากกรอบของการศึกษานั้นเป็นสิ่งสำคัญ เช่นในกรณีศึกษาในครั้งนี้เริ่มจากการสร้างกรอบแนวความคิดของปัจจัยที่มีผลกับ งานวิจัย ซึ่งได้แก่ 1.ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเข้าถึงพื้นที่และตำแหน่ง การพัฒนาพื้นที่รอบสถานี 2. ปัจจัยเรื่องเกณฑ์การใช้ที่ดินและการใช้อาคาร 3.ปัจจัยเรื่องขนาดของแปลงที่ดินและชนิดของการใช้พื้นที่โล่ง นำปัจจัยตัวแปรทั้ง 3 มาใช้ในการสร้างเครื่องมือ แล้วทำการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม GIS เพื่อหา ตำแหน่งของการเชื่อมต่อที่เหมาะสม โดยผลที่ได้ออกมาทำให้พบว่ามีพื้นที่เหมาะสม 3 แกน โดยมีเอกลักษณ์ชัดเจนซึ่งทำการเชื่อมโยงระหว่างถนนลาดพร้าวและถนนรามคำแหง และสามารถเชื่อมต่อสถานีรถไฟฟ้าในพื้นที่เข้าด้วยกัน ซึ่งสามารถนำมาใช้ทำการออกแบบ ได้แก่ แกนพื้นที่พาณิชยกรรม, แกนพื้นที่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม และแกนพื้นที่ราชการ ซึ่งโครงสร้างพื้นที่ทุกเส้นทางสามารถใช้ทำการเชื่อมต่อพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชนโดยรอบได้ดี โดยมีศักยภาพแตกต่างกันออกไปตามเอกลักษณ์ของแกนนั้น ๆth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการสร้างกลยุทธ์th
dc.subjectพื้นที่th
dc.subjectพื้นที่สาธารณะth
dc.subjectพื้นที่เอกชนth
dc.subjectรถไฟฟ้าสายขนส่งมวลชนth
dc.subjectสถานีศูนย์การเปลี่ยนถ่ายth
dc.subjectเกณฑ์ผังเมืองรวมth
dc.subjectการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนth
dc.subjectอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินth
dc.subjectอัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมth
dc.subjectการพัฒนาและเชื่อมต่อโครงข่ายพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชนth
dc.subjectstrategic developmenten
dc.subjectspaceen
dc.subjectpublic spaceen
dc.subjectprivate spaceen
dc.subjectmass transit lineen
dc.subjectTransfer Station Centeren
dc.subjectthe general criteria for city planningen
dc.subjectFARen
dc.subjectOSRen
dc.subjectTODen
dc.subjectThe Development and integration of public and private spaceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationProfessional, scientific and technical activitiesen
dc.subject.classificationDesignen
dc.titleSTRATEGIES FOR THE DEVELOPMENT AND INTEGRATION OF PUBLIC AND PRIVATE SPACES AROUND METRO STATIONS FROM THE GENERAL CRITERIA FOR CITY PLANMING. LAMSALEE JUNCTION CASE STUDYen
dc.title กลยุทธ์การพัฒนาและเชื่อมต่อโครงข่ายพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชนรอบบริเวณสถานีรถไฟฟ้าจากข้อกำหนดผังเมืองรวม กรณีศึกษาชุมทางลำสาลีth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorPheereeya Boonchaiyaprueken
dc.contributor.coadvisorพีรียา บุญชัยพฤกษ์th
dc.contributor.emailadvisorboonchaiyapruek_p@silpakorn.edu
dc.contributor.emailcoadvisorboonchaiyapruek_p@silpakorn.edu
dc.description.degreenameMaster of Architecture (M.Arch)en
dc.description.degreenameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineURBAN DESIGN AND PLANNINGen
dc.description.degreedisciplineการออกแบบและวางผังชุมชนเมืองth
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630220003.pdf13.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.