Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4714
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Suvilai CHANGSANONG | en |
dc.contributor | สุวิไล จันทร์สนอง | th |
dc.contributor.advisor | Chanasith Sithsungnoen | en |
dc.contributor.advisor | ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University | en |
dc.date.accessioned | 2023-11-16T02:05:22Z | - |
dc.date.available | 2023-11-16T02:05:22Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 24/11/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4714 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were 1) to develop and find the quality of a model of blended professional learning community with coaching to develop learning management competency based on STEM Education and creating innovation of secondary students, 2) to study the effectiveness of a model of blended professional learning community with coaching to develop learning management competency based on STEM Education and creating innovation of secondary students, and 3) to disseminate the implementation of a model of blended professional learning community with coaching to develop learning management competency based on STEM Education and creating innovation of secondary students. The samples were 12 mathematics teachers and technology teachers for Matthayom 2 students and 93 Matthayom 2 students in the schools under Kanchanaburi Primary Educational Service Area Office 2 in the second semester of the academic year 2022 by purposive sampling. The instruments of the research were 1) evaluation form on ability to develop blended professional learning community with coaching, 2) evaluation form on ability to design learning activities, 3) evaluation form on teaching, 4) Focus Group Discussion Guidelines for teachers about their opinion towards a model of blended professional learning community, 5) evaluation form on students’ ability to create innovation, and 6) evaluation form on students’ opinion towards teachers’ teaching on STEM Education. The statistics for analyzing the data were mean (x̄ ) and standard deviation (S.D.). The research results were as follows: 1. The name of the developed model was GROUP Model consisting of 1) Principle: to gather a group of teachers having the same goal to develop learning management competency based on STEM Education and to create innovation of students for continuous exchange knowledge leading to knowledge acquisition using technology as a tool for continuous working development, 2) Objectives: to develop learning management competency based on STEM Education and creating innovation of secondary students, 3) Stages consisting of 5 stages: Stage 1 Gathering: G, Stage 2 Relationship: R, Stage 3 Operation: O, Stage 4 Using for conclusion: U, and Stage 5 Permanence: P, 4) Evaluation: to evaluate developing blended professional learning community with coaching, teachers’ learning management competency based on STEM Education and creating innovation of secondary students, 5) Conditions and factors affecting the success: collaboration, collective leadership, peer coaching, expert coaching, teachers’ technology ability, and administrator’s support. 2. The effectiveness of the model were 1) ability to develop blended professional learning community with coaching had progressed, 2) learning management competency based on STEM Education 2.1) ability to design learning activities had progressed, 2.2) teaching ability based on STEM Education had progressed, 2.3) teachers’ opinion towards the model showed that the model was good and useful, 2.4) creating innovation of students was at high level, and 2.5) students’ opinion towards teachers’ teaching was at high level. 3. The results of disseminating the model were 1) ability to develop blended professional learning community with coaching had progressed, 2) learning management competency based on STEM Education 2.1) ability to design learning activities had progressed, 2.2) teaching ability based on STEM Education had progressed, and 2.3) creating innovation of students was at high level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหาคุณภาพของรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพแบบผสมผสานร่วมกับการโค้ชเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา และการสร้างนวัตกรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 2) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพฯ 3) ขยายผลรูปแบบแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพฯ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 12 คน และนักเรียนจำนวน 93 คน ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แบบประเมินความสามารถในการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพฯ 2) แบบประเมินความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ฯ 3) แบบประเมินความสามารถในการจัดการเรียนรู้ฯ 4) ประเด็นสนทนากลุ่มความคิดเห็นของครูที่มีต่อชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพฯ 5) แบบประเมินความสามารถในสร้างนวัตกรรมของนักเรียน 6) แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาของครู สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพฯ ที่พัฒนาขึ้นมีชื่อว่า GROUP Model ประกอบด้วย 1) หลักการ ของรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพแบบผสมผสานร่วมกับการโค้ช เป็นการรวมกลุ่มของครูที่มีเป้าหมายเดียวกันเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) และการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดการสืบเสาะแสวงหาความรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งการพัฒนาการทำงานอย่างต่อเนื่อง 2) วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) ของครูและการสร้างนวัตกรรมของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา 3) ขั้นตอน 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Gathering : G) ขั้นที่ 2 การร่วมพัฒนาวิชาชีพ (Relationship : R) ขั้นที่ 3 การปฏิบัติการ (Operation : O) ขั้นที่ 4 การสรุปผล (Using for Conclusion : U) และขั้นที่ 5 การเรียนรู้และพัฒนาอย่างยั่งยืน (Permanence : P) 4) การวัดประเมิน จากการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพแบบผสมผสานร่วมกับการโค้ชของครู การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) ของครูการสร้างนวัตกรรมของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา 5) เงื่อนไขและปัจจัยความสำเร็จ ประกอบด้วย การร่วมมือรวมพลังและภาวะผู้นำร่วม การโค้ชแบบเพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Coaching) และผู้เชี่ยวชาญ (Expert Coaching) ความสามารถการใช้เทคโนโลยีของครู การสนับสนุนจากผู้บริหารสถานศึกษา และมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก 2. ประสิทธิผลของรูปแบบแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพฯ พบว่า 1) พัฒนาการความสามารถในการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพฯ สูงขึ้น 2) สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ได้แก่ 2.1) พัฒนาการความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ฯ สูงขึ้น 2.2) พัฒนาการความสามารถในการจัดการเรียนรู้ฯ สูงขึ้น 3) ความคิดเห็นของครูที่มีต่อรูปแบบฯ พบว่า เป็นรูปแบบที่ดีและมีประโยชน์ 4) ความสามารถในสร้างนวัตกรรมของนักเรียนอยู่ในระดับมาก 5) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ฯ ของครู อยู่ในระดับมาก 3. ผลการขยายผลรูปแบบแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพฯ พบว่า 1) พัฒนาการความสามารถการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพฯสูงขึ้น 2) สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ได้แก่ 2.1) พัฒนาการความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ฯ สูงขึ้น 2.2) พัฒนาการความสามารถในการจัดการเรียนรู้ฯ สูงขึ้น 3) ความสามารถในสร้างนวัตกรรมของนักเรียน อยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | รูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ | th |
dc.subject | สมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา | th |
dc.subject | ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม | th |
dc.subject | PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY | en |
dc.subject | LEARNING MANAGEMENT COMPETENCY | en |
dc.subject | CREATING INNOVATION | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | DEVELOPING A MODEL OF BLENDED PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY WITH COACHING TO DEVELOP LEARNING MANAGEMENT COMPETENCY BASED ON STEM EDUCATION AND CREATING INNOVATION OF SECONDARY STUDENTS | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพแบบผสมผสานร่วมกับการโค้ชเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) และการสร้างนวัตกรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chanasith Sithsungnoen | en |
dc.contributor.coadvisor | ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน | th |
dc.contributor.emailadvisor | sithchon@hotmail.com | |
dc.contributor.emailcoadvisor | sithchon@hotmail.com | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Curriculum and Instruction | en |
dc.description.degreediscipline | หลักสูตรและวิธีสอน | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61253906.pdf | 12.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.