Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/490
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฝึกวาจา, ทักษอร-
dc.contributor.authorFuekwaja, Thaksaon-
dc.date.accessioned2017-08-31T01:35:13Z-
dc.date.available2017-08-31T01:35:13Z-
dc.date.issued2559-07-25-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/490-
dc.description55252369 ; สาขาวิชาการบริหารการศึกษา -- ทักษอร ฝึกวาจาen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3 2) ผลการเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารโรงเรียนบรรหาร แจ่มใสวิทยา 3 เมื่อจำแนกตามสถานภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3 จำนวนทั้งสิ้น 97 คน ประกอบด้วย (1) กลุ่มบริหาร จำนวน 15 คน คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน 1 คนรองผู้อำนวยการโรงเรียน 3 คน หัวหน้ากลุ่มสาระ 8 คน และหัวหน้าระดับชั้น 3 คน (2) กลุ่มปฏิบัติการสอน จำนวน 72 คน คือ ข้าราชการครู 59 คน พนักงานราชการ 5 คน อัตราจ้าง 8 คน (3) กลุ่มคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวน 10 คน คือ ผู้ปกครอง 2 คน องค์กรชุมชน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารตามแนวคิดของ บาร์ออนและปาร์คเกอร์ (Bar - On and Parker) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3 ทั้งภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อย คือ สภาวะอารมณ์ทั่วไป ความสามารถในการปรับตัว การจัดการกับความเครียด ความสามารถภายในตนเอง และทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2. ผลการเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3 เมื่อจำแนกตามสถานภาพ คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งหน้าที่หลัก และประสบการณ์ การทำงาน ไม่แตกต่างกัน This research purposes were to identify: 1) the administrator’s emotional quotient of Banhanjamsaiwittaya School 3 and 2) the comparison of administrator’s emotional quotient of Banhanjamsaiwittaya School 3 distinguished by status. The samples were 97 personnels in Banhanjamsaiwittaya School 3 consisted of (1) 15 persons who were in administrative section; a director , 3 director assistants, 8 heads of learning department and 3 heads of class level (2) 72 persons who were in teaching section; 59 government officers, 5 government employees and 8 general employees and (3) 10 persons who were the representative of school board; 2 parents and 8 community organization. The research instrument was a questionnaire regarding emotional quotient based on Bar-On and Parker’s concept. The statistics in data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-test and one-way ANOVA. The results of the research were: 1. The administrator’s emotional quotient of in Banhanjamsaiwittaya School 3, as a whole and as individual, were at a high level. In order arithemetic mean from maximum to minimum were as follows; general mood, adaptability, stress management, self-competence and interpersonal skills. 2. The comparison of administrator in Banhanjamsaiwittaya School 3 distinguished by status were sex, age, education level, working position, and working experiences were no difference.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์en_US
dc.subjectEMOTIONAL QUOTIENTen_US
dc.titleความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3en_US
dc.title.alternativeADMINISTRATOR’S EMOTIONAL QUOTIENT OF BANHANJAMSAIWITTAYA SCHOOL 3en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
55252369 นางสาวทักษอร ฝึกวาจา.pdf6.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.