Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAlita KANWARATRONen
dc.contributorอาลิตา กาญจน์วราธรth
dc.contributor.advisorNuchnara Rattanasirapraphaen
dc.contributor.advisorนุชนรา รัตนศิระประภาth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-01T07:21:50Z-
dc.date.available2024-08-01T07:21:50Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5112-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to identify the academic administration strategy for primary school in the new normal era. This research was future research using Ethnographic Futures Research design. Data were collected by interviewing 17 specialists and experts. Using the purposive selection technique of experts according to specified criteria. The data collection tool was an unstructured interview, and the data was analyzed using content analysis followed by descriptive writing narratives. The findings revealed that the optimistic scenario, the pessimistic scenario The most probable scenario, and the strategies as follows: 1) The optimistic scenario; Schools will integrate technology and innovation, implement educational management policies, and provide continuous technological training for teachers. Students will experience diverse learning opportunities, supported by a modern system of measurement and evaluation. Mentoring will be collaborative, fostering a learning community. 2) The pessimistic scenario; includes a lack of resources and support, with schools unable to access modern technologies and innovations. Teachers will lack the skills and knowledge necessary for effective teaching, leading to outdated teaching practices. Learning opportunities will be limited, measurement and evaluation systems will be inadequate, and cooperation will negatively impact learning. 3) The most probable scenario; Schools will establish clearer academic policies and plans, develop staff skills, and utilize innovations in teaching, learning, and assessment. The learning community will develop and grow, supported by collaborative efforts. 4) The strategies consist of four major strategies and nineteen sub-strategies; (1) Policy and academic planning in the era of change strategies; includes establishing clear academic policies and plans, improving educational quality using appropriate models., developing competency-based curricula, using technology in proactive student support systems, and enhance mentoring processes. (2) Development of skills and competencies of personnel in the new normal era strategies; includes developing competencies aligned with changes, enhancing communication skills and teamwork, fostering ethics and technological skills, developing knowledge and applying educational innovations, establishing professional learning communities, and using data systems and research processes for development and problem-solving. (3) Innovation and digital technology media strategies; include using digital platforms for learning assessment, supporting blended learning and self-directed learning, utilizing diverse innovative media to enhance learning processes, developing educational innovations and creating learning environments, and applying artificial intelligence and technology. (4) Learning networks to support change strategies; including building partnerships with networks and professional organizations to enhance educational quality, develop methods for resource sharing and collaborative learning, and create effective communication models.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบกลยุทธ์การบริหารวิชาการสำหรับโรงเรียนประถมศึกษาในฐานวิถีชีวิตใหม่ โดยออกแบบเป็นการวิจัยเชิงอนาคตแบบชาติพันธุ์วรรณา ผู้ให้ข้อมูลคือผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ จำนวนทั้งสิ้น 17 คน โดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ  แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างจำนวน 1 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์โดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหาแล้วเขียนบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า ภาพอนาคตแง่ดี ภาพอนาคตแง่ร้าย ภาพอนาคตที่เป็นไปได้มากที่สุด และกลยุทธ์ มีรายละเอียดดังนี้ 1) ภาพอนาคตแง่ดี ประกอบด้วย โรงเรียนมีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ มีการวางแผนนโยบายด้านการจัดการศึกษา ครูได้รับการอบรมด้านเทคโนโลยี  นักเรียนจะได้รับการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีระบบการวัดและการประเมินผลที่ทันสมัย การนิเทศการสอนแบบกัลยาณมิตร เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ 2) ภาพอนาคตแง่ร้าย ประกอบด้วย คือ การขาดทรัพยากรและการสนับสนุน โรงเรียนไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย ครูขาดทักษะและความรู้ การจัดการเรียนการสอนไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้มีข้อจำกัด การวัดและประเมินผลที่ยังไม่สอดคล้องเหมาะสม ความร่วมมือเกิดผลกระทบต่อการเรียนรู้ 3) ภาพอนาคตที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด ประกอบด้วย โรงเรียนจะมีนโยบายและแผนงานวิชาการที่ชัดเจนขึ้น มีการพัฒนาทักษะของบุคลากร การนำนวัตกรรมมาใช้ในการเรียนการสอนรวมไปถึงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้สามารถพัฒนาและเติบโต 4) กลยุทธ์การบริหารวิชาการสำหรับโรงเรียนประถมศึกษาในฐานวิถีชีวิตใหม่ ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์สำคัญ 19 กลยุทธ์ย่อย คือ (1) กลยุทธ์ที่ 1 นโยบายและแผนงานวิชาการในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วย (1.1) การกำหนดนโยบายและแผนงานวิชาการที่ชัดเจน (1.2) การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยใช้โมเดลที่เหมาะสม (1.3) การพัฒนาหลักสูตรที่เน้นสมรรถนะสูง (1.4) การนำเทคโนโลยีมาช่วยในงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเชิงรุก (1.5) การพัฒนากระบวนการนิเทศ (2) กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาทักษะและสมรรถนะของบุคลากรบนฐานวิถีชีวิตใหม่ ประกอบด้วย (2.1) การพัฒนาสมรรถนะที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง (2.2) การพัฒนาทักษะการสื่อสารและการทำงานเป็นทีม (2.3) การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและทักษะในการใช้เทคโนโลยี (2.4) การพัฒนาองค์ความรู้และใช้นวัตกรรมทางการศึกษา (2.5) การมีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (2.6) ใช้ระบบฐานข้อมูลและกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหา (3) กลยุทธ์ที่ 3 นวัตกรรมและสื่อเทคโนโลยีดิจิทัล ประกอบด้วย (3.1) การใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (3.2) การสนับสนุนการเรียนรู้แบบผสมผสานและการเรียนรู้ด้วยตนเอง (3.3) การใช้สื่อนวัตกรรมที่หลากหลายเพื่อยกระดับกระบวนการเรียนรู้ (3.4) การพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (3.5) การใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยี (4) กลยุทธ์ที่ 4 เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วย (4.1) การสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย และองค์กรวิชาชีพเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา (4.2) การพัฒนาวิธีการแลกเปลี่ยนทรัพยากรและการเรียนรู้ร่วมกัน (4.3) การสร้างรูปแบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectกลยุทธ์การบริหารวิชาการth
dc.subjectฐานวิถีชีวิตใหม่th
dc.subjectACADEMIC ADMINISTRATION STRATEGYen
dc.subjectTHE NEW NORMALen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE ACADEMIC ADMINISTRATION STRATEGY FOR PRIMARY SCHOOL IN THE NEW NORMAL ERAen
dc.titleกลยุทธ์การบริหารวิชาการสำหรับโรงเรียนประถมศึกษาในฐานวิถีชีวิตใหม่th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNuchnara Rattanasirapraphaen
dc.contributor.coadvisorนุชนรา รัตนศิระประภาth
dc.contributor.emailadvisornuchnara14@hotmail.com
dc.contributor.emailcoadvisornuchnara14@hotmail.com
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61252911.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.