Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5132
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPanupong KONKETen
dc.contributorภานุพงศ์ กรเกตุth
dc.contributor.advisorPhenphanor Phuangphaeen
dc.contributor.advisorเพ็ญพนอ พ่วงแพth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-01T07:21:54Z-
dc.date.available2024-08-01T07:21:54Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5132-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to compare the environmental literacy of sixth grade students before and after learning according to STEM Education, 2) study the environmental literacy of sixth grade students who received learning according to STEM education, and 3) study the opinions of sixth grade students on learning according to STEM education. This research was experimental research design. The sample group in the research consisted of 15 students from Wat Koh Kaew School during the academic year 2023. The instrument include: 1) a lesson plan based on the STEM education unit 15: Humans and the surrounding environment 2) Environmental literacy test. 3) Behavioral observation record form and student learning log and 4) Questionnaire of opinions of sixth grade students regarding learning according to STEM Education. The statistical analysis by percentage, mean, standard deviation, and a t-test dependent. The findings were as follows : 1) the environmental literacy of students after the learning management were higher than before the at the level of .05 significance. 2) students had knowledge and understanding about the physical characteristics and relationship between humans and the ecosystem, the results of various human actions on the ecosystem, including factors that cause each area to have different lifestyles, occupations, social cultures, and community and housing designs. As a result, students showed responsibility and cared about the environment by finding ways to solve environmental problems appropriate for their age. In addition, they were able to apply their knowledge and environmental skills to find the causes of environmental problems and finding ways to solve problems from reliable sources of information so that they could plan for problem-solving appropriately. 3) The opinions of sixth grade students after learning according to the STEM education were at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา 2) ศึกษาความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลอง โดยกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดเกาะแก้ว จังหวัดเพชรบุรี  ปีการศึกษา 2566 จำนวน 15 คนโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย 1) แผนการหน่วยการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา หน่วยที่ 15 เรื่อง มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัว 2) แบบวัดความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อม เรื่อง มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัว 3) แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมและแบบบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียน และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบนิเวศน์ ผลจากการการกระทำต่าง ๆ ที่มนุษย์ทำต่อระบบนิเวศน์รวมทั้งปัจจัยที่ทำให้แต่ละพื้นที่มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพ สังคมวัฒนธรรมและการออกแบบชุมชนและที่อยู่อาศัยที่แตกต่างกัน โดยมีผลให้นักเรียนมีการแสดงออกถึงความรับผิดชอบและเอาใจใส่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมโดยหาแนวทางในการแก้ปัญหาทางสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับช่วงวัยของตนเองได้ นอกจากนี้ยังสามารถนำความรู้และทักษะด้านสิ่งแวดล้อมมาใช้ในการคิดหาสาเหตุของปัญหาทางสิ่งแวดล้อม และหาแนวทางในการแก้ปัญหาจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือเพื่อให้สามารถใช้ในการวางแผนการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม 3) ความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectสะเต็มศึกษาth
dc.subjectความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อมth
dc.subjectมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมth
dc.subjectSTEM Educationen
dc.subjectEnvironmental literacyen
dc.subjectHuman and Environmenten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleEFFECTS OF USING STEM EDUCATION ON HUMAN AND SURROUNDING ENVIRONMENT ON ENVIRONMENTAL LITERACY OF SIXTH GRADE STUDENTSen
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเรื่องมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่มีต่อความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPhenphanor Phuangphaeen
dc.contributor.coadvisorเพ็ญพนอ พ่วงแพth
dc.contributor.emailadvisorphenphanor@hotmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorphenphanor@hotmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineหลักสูตรและวิธีสอนth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620620125.pdf5.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.