Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNutpasorn PASUSITTHIPONGen
dc.contributorณัฐภษร พสุสิทธิพงษ์th
dc.contributor.advisorSaisuda Tiacharoenen
dc.contributor.advisorสายสุดา เตียเจริญth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-01T07:21:55Z-
dc.date.available2024-08-01T07:21:55Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5142-
dc.description.abstractKeywords: THE COMPETENCY DICTIONARY OF SECONDARY STUDENT,  ORYOR NOI'S ACTIVITY IN FOOD AND DRUG The purposes of this research were to 1) identify factors of the competency of secondary student for oryor noi activity in food and drug. 2) identify the competency dictionary of secondary student for oryor noi activity in Food and Drug 3) identify the management guidelines to enhance competency of secondary student for oryor noi activities in food and Drug. The sample consisted 108 secondary schools that got excellent level on the Food And Drug Administration (FDA) Project.There were 3 informants in each school, comprising 1) school director 2) consulting teacher in oryor noi activity in food and drug. 3) student chairman in oryor noi activity in food and drug totally, 324.Three instruments were used to collect the data, there were 1) opinionmaire about competency components of secondary student for oryor noi activity in Food and Drug. 2) questionnaire to confirm dictionary about competency of secondary student for oryor noi activity in Food and Drug. 3) structured interview about the management guidelines to enhance competency of secondary student for oryor noi activities in food and Drug.The data were analyzed by freguency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, confirmatory factor analysis, and content analysis. The findings of the reseach were as follow; 1) Competency components of secondary school students in  for oryor noi activity in Food and Drug  consists of 2 components: Component 1 (Standard Criteria 3) has a total of 9 indicators, totaling 114 competencies, and Component 2 (Standard Criteria 4) has a total of 8 indicators. Indicating a total of 71 competencies, that were good fit with the empirical data. 2) The competency dictionary of secondary education students for oryor noi activities in Food and Drug synthesizing both components, it was found that there were a total of 17 indicators with 26 competencies compiled into a dictionary of competencies according to the following topics were (1) goal setting, (2) coordination, (3) follow-up, (4) decision making, (5) teamwork. (6) Cross-Team Collaboration (7) Operation Management (8) Achievement Orientation (9) Result Orientation (10) Gather and Analyzing (11) Planning and Organizing ( 12) Coaching and developing others (13) Written communication (14) Information Seeking (15) Giving and Receiving Feedback (16) Working Process and System Understanding (17) Rational thinking (18) Technical Knowledge (19) Credibility (20) Leadership (21) Personal Mastery (22) Auditor Knowledge (23) Accountability (24) Information Technology Knowledge (25) Ability to Learn (26) Ability to Learn 3)  The management guidelines to enhance competency of secondary student for oryor noi activity in Food and Drug were a multi-disciplinary approach for school administrators and school administrators. Teachers responsible for the project oryor noi activity in Food and Drug.And student for oryor noi activity in food and drug.en
dc.description.abstractคำสำคัญ : กิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา, พจนานุกรมสมรรถนะของนักเรียนมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1)  เพื่อทราบองค์ประกอบสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา 2) เพื่อทราบพจนานุกรมสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา 3) เพื่อทราบแนวทางการบริหารเพื่อให้เกิดสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา กลุ่มตัวอย่าง คือ โรงเรียนมัธยมศึกษาที่ดำเนินงานโครงการ อย.น้อย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อยระดับดีเยี่ยม จำนวน 108 โรง ผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 3 คน ประกอบด้วย 1) ผู้อำนวยการ  2) ครูที่ปรึกษาชมรม อย.น้อย และ 3) นักเรียนประธานแกนนำ อย.น้อย รวมทั้งสิ้น จำนวน 324 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 3 ฉบับ (1) แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรมอย.น้อย ด้านอาหารและยา (2) แบบยืนยันพจนานุกรมสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรมอย.น้อย ด้านอาหารและยา (3) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเกี่ยวกับแนวทางการบริหารเพื่อให้เกิดสมรรถนะของนักเรียน อย.น้อยด้านอาหารและยา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยาประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 (เกณฑ์มาตรฐานที่่ 3) มีตัวแปร จำนวน 9 ตัวแปร และองค์ประกอบที่ 2 (เกณฑ์มาตรฐานที่ 4) มีตัวแปร จำนวน 8 ตัวแปร โดยมีสมรรถนะตามตัวชี้วัดของมาตรฐานที่ 3 เท่ากับ 114 สมรรถนะ และสมรรถนะตัวชี้วัดของเกณฑ์มาตรฐานที่ 4 จำนวน 71 สมรรถนะ 2) พจนานุกรมสมรรถนะของนักเรียนมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยาเมื่อสังเคราะห์ตามตัวชี้วัดทั้ง 185 สมรรถนะ สามารถสังเคราะห์เขียนเป็นพจนานุกรมสมรรถนะของนักเรียนมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา ได้ 26 สมรรถนะ ดังนี้ คือ  (1) การกำหนดเป้าหมาย (2) การติดต่อประสานงาน (3) การติดตามงาน (4) การตัดสินใจ (5) การทำงานเป็นทีม (6) การทำงานร่วมกับทีมงานอื่น (7) การบริหารจัดการงาน (8) การมุ่งเน้นความสำเร็จ (9) การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ (10) การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล (11) การวางแผนและการจัดการ (12) การสอนงานและพัฒนาผู้อื่น (13) การสื่อสารด้วยลายลักษณ์อักษร (14) การแสวงหาข้อมูล  (15) การให้และการรับข้อมูลป้อนกลับ (16) ความเข้าใจในระบบและขั้นตอนการทำงาน (17) ความคิดเชิงเหตุผล (18) ความรู้ด้านเทคนิคเฉพาะงาน (19) ความน่าเชื่อถือได้ (20) ความเป็นผู้นำ (21) ความ  ใฝ่รู้  (22) ความรู้ในการเป็นผู้ตรวจสอบ (23) ความรับผิดชอบในงาน (24) ความรู้ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (25) ความสามารถในการเรียนรู้ (26) ทักษะในการบริหารเวลา  3) แนวทางการบริหารเพื่อให้เกิดสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยาเป็นพหุแนวทางทั้งในด้านผู้บริหารโรงเรียน ด้านครูที่รับผิดชอบโครงการ อย.น้อยในโรงเรียน และด้านนักเรียน อย.น้อยth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectพจนานุกรมth
dc.subjectสมรรถนะth
dc.subjectCompetencyen
dc.subjectDictionaryen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleTHE COMPETENCY DICTIONARY OF SECONDARY STUDENT FOR ORYOR NOI ACTIVITY IN FOOD AND DRUGen
dc.titleพจนานุกรมสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSaisuda Tiacharoenen
dc.contributor.coadvisorสายสุดา เตียเจริญth
dc.contributor.emailadvisorsaisuda@su.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsaisuda@su.ac.th
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620630002.pdf6.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.