Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorApichat UANSIRIen
dc.contributorอภิชาติ อ้วนศิริth
dc.contributor.advisorCholticha Homfungen
dc.contributor.advisorชลธิชา หอมฟุ้งth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-01T07:21:59Z-
dc.date.available2024-08-01T07:21:59Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5180-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) To develop tale books to improve the quality for enhancing the read-aloud ability of Prathomsuksa 3 students. 2) To compare the read-aloud ability of Prathomsuksa 3 students before and after study by using tale books and peer-assisted learning management and 3) to study the opinion of student about using Tale Books and Peer-Assisted Learning Management to enhance read aloud ability. The samples were 23 students Thairatwittaya Klongluang 69 School, Khlong Luang District, Pathum Thani province, Thailand during the second semester of Academic year 2023. They were selected by cluster random sampling. The research instruments were 1) the tale books 2) lesson plans 3) word-reading aloud test and 4) questionnaires to investigate student’s opinions by using the tale books and peer-assisted learning management to enhance read aloud ability. The data were analyzed by mean (M), standard deviation of items (SD) and t-test dependent. The research findings were as follows: 1. The quality of the tale books is at its highest level (M=4.98, SD=0.02). 2. The ability to read aloud of Prathomsuksa 3 students after studying (M=16.35, SD=4.88), was higher than before learning (M=9.74, SD=3.48), and was statistically significant at .05 level. 3. The sample student had opinions about using tale books and peer-assisted learning management to enhance read-aloud ability. Overall, it was at a high level of agreement (M=2.96, SD=0.15).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาหนังสือนิทานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้มีคุณภาพ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยหนังสือนิทานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน และ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยหนังสือนิทานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 69 (คลองหลวง) อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 23 คน โดยใช้การสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) หนังสือนิทาน 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบวัดความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำ และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ คือ ค่าเฉลี่ย (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1) หนังสือนิทานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีคุณภาพในระดับมากที่สุด (M=4.98, SD=0.02) 2) ความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ (M=16.35, SD=4.88) สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ (M=9.74, SD=3.48) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 3) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยหนังสือนิทานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก (M=2.96, SD=0.15)th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการพัฒนาหนังสือนิทานth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนth
dc.subjectการอ่านออกเสียงคำth
dc.subjectDevelopment of Tale Booksen
dc.subjectPeer-Assisted Learning Managementen
dc.subjectRead Aloud Abilityen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleThe Development of Tale Books and Peer-assisted Learning Management to Enhance Read Aloud Ability of Prathomsuksa 3 Studentsen
dc.titleการพัฒนาหนังสือนิทานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorCholticha Homfungen
dc.contributor.coadvisorชลธิชา หอมฟุ้งth
dc.contributor.emailadvisorcholticha207@hotmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorcholticha207@hotmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineหลักสูตรและวิธีสอนth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640620047.pdf8.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.