Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5204
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSawinee RODBUNDITen
dc.contributorสาวิณี รอดบัณฑิตth
dc.contributor.advisorKingkarn Buranasinvattanakulen
dc.contributor.advisorกิ่งกาญจน์ บูรณสินวัฒนกูลth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-01T07:22:02Z-
dc.date.available2024-08-01T07:22:02Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5204-
dc.description.abstractThe purposes of the research were to 1) compare the learning achievement on the principles of language usage of Prathomsuksa 6 students before and after learning management by using the PACE Model; 2) compare the analytical thinking abilities of Prathomsuksa 6 students before and after learning management by using the PACE Model; and 3) study the opinions of Prathomsuksa 6 students after learning management by using the PACE Model. The sample consisted of Prathomsuksa 6 students at Anubansrakaew School. They were selected by cluster random sampling. The instruments for collecting data were lesson plans, tests of learning achievement on the principles of language usage, tests of analytical ability, and the questionnaire. Analysis of data through descriptive statistics and content analysis. The results showed that 1) the learning achievement on the principles of language usage of Prathomsuksa 6 students after using the PACE Model (M = 19.89, SD = 3.95) was significantly higher than before learning (M = 14.00, SD = 3.14) at the 0.5 level of significance. 2) The analytical thinking abilities of Prathomsuksa 6 students after learning (M = 19.72, SD = 4.35) were significantly higher than before learning (M = 13.67, SD = 3.62) at the 0.5 level of significance. 3) The opinion of Prathomsuksa 6 students after using the PACE Model overall is that students liked storytelling because it made the lessons enjoyable.en
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักการใช้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ PACE Model  2) เปรียบเทียบความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ PACE Model และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้หลักการใช้ภาษาไทยโดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ PACE Model กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 จำนวน 18 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่มโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ PACE Model 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักการใช้ภาษาไทย 3) แบบวัดความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ t-test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักการใช้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจัดการเรียนรู้โดยใช้ PACE Model (M = 19.89, SD = 3.95) สูงกว่าก่อนจัดการเรียนรู้ (M = 14.00, SD = 3.14) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  2) คะแนนความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจัดการเรียนรู้ (M = 19.72, SD = 4.35) สูงกว่าก่อนจัดการเรียนรู้ (M = 13.67, SD = 3.62) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  และ 3) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ หลักการใช้ภาษาไทยโดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ PACE Model พบว่า ในภาพรวมนักเรียนชอบ การเล่าเรื่องประกอบการเรียนรู้เพราะทำให้เกิดความเพลิดเพลินth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectหลักการใช้ภาษาไทยth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์th
dc.subjectความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์th
dc.subjectรูปแบบการสอนth
dc.subjectPACE Modelen
dc.subjectthe principles of language Usageen
dc.subjectlearning achievementen
dc.subjectAnalytical Thinking Abilitiesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleEFFECTS OF LEARNING MANAGEMENT BY USING THE PACE MODEL TO DEVELOP LEARNING ACHIEVEMENT ON THE PRINCIPLES OF LANGUAGE USAGE AND ANALYTICAL THINKING ABILITIES OF PRATHOMSUKSA 6 STUDENTSen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ PACE Model เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักการใช้ภาษาไทยและความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKingkarn Buranasinvattanakulen
dc.contributor.coadvisorกิ่งกาญจน์ บูรณสินวัฒนกูลth
dc.contributor.emailadvisorKie-49@hotmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorKie-49@hotmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineหลักสูตรและวิธีสอนth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650620023.pdf5.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.