Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5278
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Monthita JOYROY | en |
dc.contributor | มนธิตา จ้อยร่อย | th |
dc.contributor.advisor | Patikorn Sriphirom | en |
dc.contributor.advisor | ปฏิกร ศรีภิรมย์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University | en |
dc.date.accessioned | 2024-08-13T06:41:46Z | - |
dc.date.available | 2024-08-13T06:41:46Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 28/6/2024 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5278 | - |
dc.description.abstract | Pork is one of the important livestock products, providing a source of protein with high nutritional value and widespread popularity as a main dish. Consequently, pigs hold economic importance in Thailand. Pork production involves various factors such as animal feed, water, electricity, transportation, wastewater, and biowaste. These factors can directly or indirectly impact the environment. Therefore, Life Cycle Assessment (LCA), an environmental management tool, is employed for analysis, quantitatively evaluating the environmental impacts throughout the product life cycle. This method helps identify environmental hotspots, focusing on the key causes of environmental impact. The study aims to conduct a life cycle assess of slaughtered pork, spanning from pig production on the farm to the pork production process in the slaughterhouse. The study adopts a system boundary of "Cradle-to-slaughterhouse" and analyzes the data using the ReCiPe method, categorizing impacts into three groups: ecosystem impact, human impact, and resource depletion. The results indicate that the farm stage significantly contributes to the impact. Mitigation strategies involve modifying food recipes, optimizing fertilizer use, and repurposing water from washing pig pens for cultivating crops used as raw materials. | en |
dc.description.abstract | เนื้อสุกรเป็นอาหารที่เป็นแหล่งโปรตีนที่ดี คุณค่าทางโภชนาการสูงและได้รับความนิยมสูง ในการนำมาประกอบเป็นอาหารจานหลัก อีกทั้งเป็นสินค้าส่งออกที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยการผลิตเนื้อสุกรมีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น อาหารสัตว์ น้ำ ไฟฟ้า น้ำเสีย ของเสียอินทรีย์ และการขนส่ง เป็นต้น ปัจจัยดังกล่าวทำให้การผลิตเนื้อสุกรส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรง และทางอ้อม ดังนั้นการประเมินวัฏจักรชีวิตจึงเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ และประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเชิงปริมาณตลอดช่วงวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ เพื่อระบุแหล่งที่มาของผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหาแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำข้อมูลบัญชีรายการสิ่งแวดล้อม และประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร ซึ่งกำหนดขอบเขตคือ ตั้งแต่การสกัดวัตถุดิบถึงผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรออกจากประตูโรงงานชำแหละเนื้อสุกร และกำหนดหน่วยการทำงาน คือ เนื้อสุกร 1 กิโลกรัม โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมวิเคราะห์การประเมินวัฏจักรชีวิต ที่ประเมินผลกระทบระดับปลาย ที่แบ่งกลุ่มความรุนแรงของผลกระทบออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ผลกระทบต่อระบบนิเวศ ผลกระทบต่อมนุษย์ และการขาดแคลนทรัพยากร ผลการศึกษาพบว่าสารขาเข้าที่ก่อให้เกิดผลกระทบมากที่สุด คือ ข้าวโพด รองลงมา คือ รำข้าว ที่เป็นวัตถุดิบในกิจกรรมการผลิตอาหารสัตว์ของขั้นตอนฟาร์ม ซึ่งแนวทางในการลดผลกระทบ คือ การปลูกข้าวโพดที่มีการปลูกถั่วร่วมด้วย เพื่อลดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน และลดการสูญเสียไนโตรเจนจากการชะล้างพังทลายของหน้าดิน การใช้ปุ๋ยในปริมาณที่เหมาะสม รวมไปถึงการใช้ประโยชน์ของน้ำล้างคอกสุกรในการเพาะปลูกพืชที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมของวัฏจักรชีวิต | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การประเมินวัฏจักรชีวิต | th |
dc.subject | เนื้อสุกร | th |
dc.subject | ผลกระทบสิ่งแวดล้อม | th |
dc.subject | Life cycle Assessment | en |
dc.subject | slaughterhouse pork | en |
dc.subject | Environmental impact | en |
dc.subject.classification | Environmental Science | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | Life cycle assessment of slaughtered pork | en |
dc.title | การประเมินวัฏจักรชีวิตเนื้อสุกรชำแหละ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Patikorn Sriphirom | en |
dc.contributor.coadvisor | ปฏิกร ศรีภิรมย์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | poramanoo@gmail.com | |
dc.contributor.emailcoadvisor | poramanoo@gmail.com | |
dc.description.degreename | Master of Science (M.Sc.) | en |
dc.description.degreename | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | ENVIRONMENTAL SCIENCE | en |
dc.description.degreediscipline | วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม | th |
Appears in Collections: | Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650720040.pdf | 3.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.