Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/566
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสังขรัตน์, ฐิติพร-
dc.contributor.authorSangkharat, Thitiporn-
dc.date.accessioned2017-08-31T02:07:08Z-
dc.date.available2017-08-31T02:07:08Z-
dc.date.issued2559-06-01-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/566-
dc.description55255904 ; สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน -- ฐิติพร สังขรัตน์en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการถ่ายโยงการเรียนรู้ ร่วมกับทฤษฎีการเรียนรู้จากตัวแบบเพื่อสร้างเสริมความสามารถในการเขียนเรียงความภาษาไทยของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต 2) ศึกษาประสิทธิผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการถ่ายโยงการเรียนรู้ร่วมกับทฤษฎีการเรียนรู้จากตัวแบบเพื่อสร้างเสริมความสามารถในการเขียนเรียงความภาษาไทยของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยก าหนดรูปแบบ การทดลองแบบกลุ่มเดียว ที่วัดแบบทดสอบก่อน และหลังการทดลอง (The One-Group Pretest-Posttest Design) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ จ านวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนเรียงความ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบวัดความสามารถทางการเรียนรู้การเขียนเรียงความภาษาไทย 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ และ 5) แบบบันทึกสะท้อนผลการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (t-test dependent) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้1. รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการถ่ายโยงการเรียนรู้ร่วมกับทฤษฎีการเรียนรู้จากตัวแบบ เพื่อสร้างเสริมความสามารถในการเขียนเรียงความภาษาไทยของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต มีองค์ประกอบหลัก คือ หลักการ วัตถุประสงค์ และกระบวนการเรียนการสอน กระบวนการเรียนการสอนมี 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ขั้นการเชื่อมโยงสู่ความคิด ขั้นการทบทวนเพื่อผลิตผลงาน ขั้นการปฏิบัติการทางการเขียน และขั้นการประเมินผลการเรียนตามเกณฑ์ 2. ผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอน พบว่านักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตมีความสามารถใน การเขียนเรียงความภาษาไทยสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิด การถ่ายโยงการเรียนรู้ร่วมกับทฤษฎีการเรียนรู้จากตัวแบบเพื่อสร้างเสริมความสามารถในการเขียนเรียงความภาษาไทย พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด The purposes of this research were to: 1) construct an instructional model based on transfer of learning with social cognitive learning theory to enhance ability in writing Thai essay of undergraduate students. 2) study the effectiveness of using an instructional model based on transfer of learning with social cognitive learning theory to enhance ability in writing Thai essay of undergraduate students. This research was Research and Development. The model experiment was one-group pretest-posttest design. The participants were 30 second-year students from Faculty of Business Administration Information Technology of Rajamangala University of Technology Tawan-Ok: Chakrabongse Bhuvanarth Campus. The research instruments were 1) an instructional model to enhance ability in writing Thai essay of undergraduate students. 2) lesson plans 3) writing exercises to test ability in writing Thai essay 4) satisfaction questionnaire 5) reflective journal. The obtained data were analyzed by mean, percentage, standard deviation, t-test dependent and content analysis. The research results were as follows: 1. The instruction model based on transfer of learning and social cognitive learning theory to enhance ability in writing Thai essay of undergraduate students consists of three components: principle, objective, and learning processes which includes 5 phases: The stage of learning experience, the stage of combining the idea, the stage of reviewing for production, the stage writing operations and the stage of evaluation as to the criteria. 2. After learning with an instructional model, the students’ ability in writing Thai essay was higher than those before the experiment at the statistical level of significance .05. 3. The satisfaction of undergraduate students learner with an instructional model based on transfer of learning with social cognitive learning theory to enhance ability in writing Thai essay was at the high level.en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectรูปแบบการเรียนการสอนen_US
dc.subjectการถ่ายโยงการเรียนรู้en_US
dc.subjectการเรียนรู้จากตัวแบบen_US
dc.subjectการเขียนเรียงความen_US
dc.subjectINSTRUCTIONAL MODELen_US
dc.subjectTRANSFER OF LEARNINGen_US
dc.subjectSOCIAL COGNITIVE LEARNINGen_US
dc.subjectESSAYen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการถ่ายโยงการเรียนรู้ร่วมกับทฤษฎีการเรียนรู้ จากตัวแบบเพื่อสร้างเสริมความสามารถในการเขียนเรียงความภาษาไทย ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตen_US
dc.title.alternativeENHANCING UNDERGRADUATE STUDENTS’ABILITY IN WRITING THAI ESSAYS THROUGH AND INSTRUCTIONAL MODEL DEVELOPED BY USING TRANSFER OF LEARNING AND SOCIAL COGNITIVE THEORYen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
55255904 ฐิติพร สังขรัตน์.pdf55255904 ; สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน -- ฐิติพร สังขรัตน์9.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.