Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/591
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเทพวิจิตร, พระมหาเอกลักษณ์-
dc.contributor.authorTapwijitr, Phramaha Akekalak-
dc.date.accessioned2017-08-31T02:12:23Z-
dc.date.available2017-08-31T02:12:23Z-
dc.date.issued2559-08-03-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/591-
dc.description54255319 ; สาขาวิชาการสอนภาษาไทย -- พระมหาเอกลักษณ์ เทพวิจิตรen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการสอนด้วยวิธีการสอนอ่านแบบ DR-TA และ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการสอนด้วยวิธีการสอนอ่านแบบ DR-TA กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 โรงเรียนนาคประสิทธิ์ อ าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จ านวนนักเรียน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การอ่านจับใจความด้วยวิธีการสอนอ่านแบบ DR-TA 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความด้วยวิธีการสอนอ่านแบบ DR-TA และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยวิธีการสอนอ่านแบบ DR-TA การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (Dependent Samples t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนด้วยวิธีการสอนอ่านแบบ DR-TA หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการเรียนด้วยวิธีการสอนอ่านแบบ DR-TA อยู่ในระดับ เห็นด้วยมาก The purposes of this research were to: 1) compare reading comprehension achievement of Prathomsuksa 6 students before and after being taught by using DR-TA method. 2) study the students' opinions towards the DR-TA method. The sample of this research were 30 Prathomsuksa 6/4 students of Nakprasith School, Amphoe Sam Phran, Nakhon Pathom province. The research was conducted within the duration of the second semester of the academic year 2015. The instruments used for this experiment were lesson plans, achievement and a questionnaire used to study the students' opinions toward using DT-TA method. The data were analyzed by mean (X ) standard deviation (S.D.), and dependent samples t-test. The findings were as follows: 1. The achievement of reading comprehension of Prathomsuksa 6 students after using DR-TA method were significantly higher than before using DR-TA method at the .01 level. 2. The students' opinions toward DR-TA method were at high level.en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectการอ่านจับใจความen_US
dc.subjectวิธีการสอนแบบ DR-TAen_US
dc.subjectREADING COMPREHENSIONen_US
dc.subjectDR-TA METHODen_US
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วย วิธีการสอนอ่านแบบ DR-TA (Directed Reading-Thinking Activity)en_US
dc.title.alternativeTHE DEVELOPMENT OF THE ACHIEVEMENT OF READING COMPREHENSION OF PRATHOMSUKSA 6 STUDENTS USING DR-TA (DIRECTED READING-THINKING ACTIVITY) METHODen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
54255319 เอกลักษณ์ เทพวิจิตร.pdf54255319 ; สาขาวิชาการสอนภาษาไทย -- พระมหาเอกลักษณ์ เทพวิจิตร4.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.