Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/606
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เต็มมาศ, ดีบุก | - |
dc.contributor.author | Temmas, Dibuk | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-31T02:16:08Z | - |
dc.date.available | 2017-08-31T02:16:08Z | - |
dc.date.issued | 2558-10-06 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/606 | - |
dc.description | 53101206 ; สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ -- ดีบุก เต็มมาศ | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่องพัฒนาการของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรังในสมัย ประวัติศาสตร์ก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานทางโบราณคดี มีจุดม่งหมายส้าคัญเพี่อศึกษาพัฒนาการตั้งถิ่นฐาน และพัฒนาการการใช้พื้นที่ของชุมชนที่ตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้้าตรัง ข้อมูลที่ ได้จากการศึกษามาจากหลักฐานโบราณคดีประเภทต่างๆได้แก่โบราณวัตถุ โบราณสถานที่พบจาก การส้ารวจบริเวณลุ่มแม่น้้าตรัง จังหวัดตรัง ผลการศึกษาพบร่องรอยการใช้งานพื้นที่ของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรัง ใน 3 ช่วงเวลาได้แก่ 1.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่ 2.สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 -18 3.สมัยสมัยอยุธยา-รัตนโกสินทร์ตอนต้น ดังนี้ 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่ ในบริเวณลุ่มแม่น้้าตรังนั้นพบหลักฐานการอยู่อาศัยของมนุษย์ในถ้้าหรือเพิงผาบนภูเขาหินปูนที่ตั้งอยู่ใกล้กับแม่น้้าตรังหรือล้าน้้าสาขาในบริเวณพื้นที่อ้าเภอห้วยยอดและด้านทิศเหนือของอ้าเภอเมือง 2. สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 – 18 พบหลักฐานโบราณวัตถุในศาสนาพุทธในถ้้าหินปูนบริเวณพื้นที่อ้าเภอห้วยยอด ในช่วงสมัยนี้ชุมชนโบราณในสมัยนี้ท้าหน้าที่ เป็นเมืองท่าฝั่งตะวันตกให้กับชุมชนโบราณที่มีขนาดใหญ่กว่าในฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรไทย 3. สมัยอยุธยา-รัตนโกสินทร์ตอนต้น (พุทธศตวรรษที่ 19 -24) พบชุมชนโบราณ 2 แหล่ง บริเวณอ้าเภอเมืองและอ้าเภอรัษฎา ในช่วงสมัยนี้ ชุมชนโบราณที่พบในลุ่มแม่น้้าตรังนั้น เป็นชุมชนบริวารของชุมชนโบราณในจังหวัดพัทลุงและจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยท้าหน้าที่เป็น เมืองท่าฝั่งตะวันตก The purpose of this research is to study the cultural and area development of ancient communities in Trang river basin in historical period prior to the mid 18th Century CE from archaeological evidence found in the area of Trang river basin. Result of the research indicates that there are traces of ancient communities in Trang river basin which can be divided into 3 periods as follows: 1. The Prehistoric(Before 6Th Century CE) period (4,000-2,000 years ago). archaeological evidence indicate that human in this period there were prehistoric men lived in limestone cave in Huai Yot District and the northern part of Muang Trong District. 2. The Early historic period (8th-13th Century CE). A number of the Buddhist artifacts was found in limestone caves in Huai Yot District. The ancient communities along the Trang river basin acted as a western port community and developed in patrolled with the communities in the eastern past of the peninsula. 3. The Ayutthaya period (14th- 18th Century CE). These Two communities in Muang Trang District and Ratsada District were active in period. These ancient communities became vassal of the town of Phattalung and that of Nakhon Si Thammarat and acts a weatern port community of the two towns. | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
dc.subject | ชุมชนโบราณ | en_US |
dc.subject | พัฒนาการทางวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | ตรัง | en_US |
dc.subject | ANCIENT SETTLEMENTS | en_US |
dc.subject | CULTURAL DEVELOPMENT | en_US |
dc.subject | TRANG | en_US |
dc.title | การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรังในสมัยประวัติศาสตร์ก่อน พุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานทางโบราณคดี | en_US |
dc.title.alternative | DEVELOPMENT OF ANCIENT SETTLEMENTS IN TRANG RIVER BASIN AREA IN HISTORICAL PERIOD PRIOR TO THE MID 18 CENTURY BASED ON ACHAEOLOGICAL EVIDENCE | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Archaeology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
53101206 ดีบุก เต็มมาศ.pdf | 53101206 ; สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร -- ดีบุก เต็มมาศ | 18.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.