Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมณีกร, ณัฏฐเขต-
dc.contributor.authorMANEEKORN:, NUDTAKHED-
dc.date.accessioned2017-08-31T02:25:22Z-
dc.date.available2017-08-31T02:25:22Z-
dc.date.issued2559-07-27-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/638-
dc.description54057209 ; สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น -- ณัฎฐเขต มณีกรen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เกิดจากความสนใจในความเปลี่ยนแปลงเรือนของคุณทวดได้พบเจอและ ได้พักอาศัยในระยะเวลาหนึ่งของทุกปี ทำให้รู้สึกถึงความเปลี่ยนแปลงไปของเรือน ทั้งทาง กายภาพและการใช้สอยของเรือน ทำให้สนใจที่จะศึกษาว่า เรือนในพื้นที่ตำบลทุ่งต้อม อำเภอสัน ป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่นั้น มีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร มีความเปลี่ยนแปลงร่วมกันอย่างไร หรือมีความต่างกันอย่างไร โดยกำหนดบริบทของเรือนให้มีความแตกต่างกัน 3 บริบท คือ เรือนที่ อยู่ติดกับถนนสายหลักของหมู่บ้าน เรือนที่ติดกับถนนสายรองของหมู่บ้าน เนื่องจากการคมนาคม ในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากและเรือนที่ติดกับลำเหมืองสาธารณะ เนื่องจากลำ เหมืองเป็นการจัดการน้ำอย่างเป็นระบบของชาวล้านนามาแต่โบราณ ในการศึกษาพบความ เปลี่ยนแปลงของเรือนที่มีมาก คือ การเปลี่ยนแปลงการใช้งานบริเวณใต้ถุนเรือนและการต่อเติม ส่วนครัวเพิ่ม โดยนิยมเทพื้นด้วยคอนกรีตและก่อผนังบล็อกซีเมนต์หรืออิฐมอญ โครงสร้างของ อาคารใช้รูปแบบของเสาสำเร็จรูปหรือเสาไม้ หลังคาใช้ระบบอเส จันทัน และแปไม้ วัสดุมุงหลังคา นิยมใช้กระเบื้องลอนคู่ ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ กลับพบว่า ความเปลี่ยนแปลงของเรือนสามารถ ใช้หลักเกณฑ์อื่นเพื่อหาความเปลี่ยนแปลงของเรือนได้อีกด้วย ซึ่งทำให้การศึกษาค้นคว้าสามารถ ต่อยอดไปได้อีกไม่น้อย The research paper derived from grandfather’s house. I lived it some time of the year. The vernacular house was changed to from and function. It was important for studied to houses of Tambon Toongtom Amphoe San Pa Tong, Chiang Mai Province. These questions are : How were the vernacular houses changed ? How were theirs changed of alike or different ? Specification of 3 location. The house was close up at main road. The house was close up at sub-road, Because the traffic was important. The house was close up at weir, Because the weir was the system of water along time. The space under the house and kitchen was changed so much. Population for structure concrete of the floor and adobe cement block or bricks of the wall. Precast for the column or wood column. The roof’s structure system was beam , rafter and purlin. Material of the roof were asbestos cement sheet. The research paper found another methodology for changed of vernacular house. The vernacular house was research next time.en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectเรือนพื้นถิ่นen_US
dc.subjectพลวัตen_US
dc.subjectลำเหมืองen_US
dc.subjectใต้ถุนเรือนen_US
dc.subjectVERNACULAR HOUSEen_US
dc.subjectDYNAMISMen_US
dc.subjectWEIRen_US
dc.subjectSPACE UNDER THE HOUSEen_US
dc.titleพลวัตของเรือนพื้นถิ่น: กรณีศึกษาตำบลทุ่งต้อม อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDYNAMISM FOR VERNACULAR HOUSE: CASE STUDY OF TAMBON TOONGTOM AMPHOE SAN PA TONG, CHIANG MAI PROVINCEen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
54057209 ; ณัฎฐเขต มณีกร .pdf54057209 ; สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น -- ณัฎฐเขต มณีกร23.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.