Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศรีเพ็ชร์พันธุ์, ศศนันท์-
dc.contributor.authorSripetchpunt, Sasanunt-
dc.date.accessioned2017-08-31T03:16:47Z-
dc.date.available2017-08-31T03:16:47Z-
dc.date.issued2559-08-05-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/726-
dc.description54157318 ; สาขาวิชาการออกแบบเครื่องประดับ -- ศศนันท์ ศรีเพ็ชร์พันธุ์en_US
dc.description.abstractในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการศึกษา พัฒนากระบวนการการ ออกแบบงานเครื่องประดับให้มีความร่วมสมัยโดยผสมผสานเทคนิคการสร้างงานสกุลช่างสุโขทัย และ การประยุกต์ลายแม่บท “เครือเถา” นำมาผสมผสานร่มกับเทคนิคการออกแบบในสมัยปัจจุบันและ เพื่อศึกษาทำความเข้าใจลักษณะ “ความร่วมสมัย” งานช่างสุโขทัยโดยใช้ผลความพึงพอใจต่อ เครื่องประดับโดยผู้ประกอบการจากชมรมเงินทองไทยศรีสัชนาลัย 800 ปี ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยโดย ศึกษาข้อมูลแหล่งที่มาของลวดลายและรูปแบบเครื่องประดับ สกุลช่างสุโขทัยในอดีตรวมถึงได้ศึกษารูปแบบงานทองสุโขทัยในปัจจุบัน โดยได้ลงพื้นที่ศึกษาข้อมูล โดยการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการในชมรมเงินทองไทยศรีสัชนาลัย 800 ปี อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัด สุโขทัย นอกจากนี้ได้ศึกษาแนวทางรูปแบบของเครื่องประดับที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวัฒนธรรมไทย โดยศิลปิน3ท่านได้แก่ Bernard Maquin, Chus Bures และนิพนธ์ ยอดคำปัน นอกจากนี้ยังพบว่า งานเครื่องทองสุโขทัยในช่วงสมัยหนึ่งนั้นได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก จนถึงในยุคปัจจุบันการ ดำเนินชีวิตและค่านิยมที่เปลี่ยนไป จึงทำให้งานเครื่องทองสุโขทัยไม่ได้รับความนิยม เพราะรูปแบบที่ ผลิตอยู่ในปัจจุบันนำไปสวมใส่ได้เพียงโอกาสเท่านั้น จากการศึกษาข้างต้นทำให้ผู้วิจัยได้แนวทางใน การออกแบบเป็น 4 แนวทาง คือ 1. เน้นเทคนิคการผลิตงานเครื่องประดับสกุลช่างสุโขทัย 2. เน้น ที่มาและลวดลายที่เป็นลักษณะเด่นของงานสุโขทัย 3. เน้นออกแบบโดยเปลี่ยนเป็นรูปทรงเรขาคณิต 4. เน้นลักษณะการเรียงร้อยและรูปทรงของลูกประคำ ผลจากออกแบบ จากแบบสอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญด้านงานเครื่องทอง สุโขทัย เจ้าของกิจการ นักออกแบบเครื่องประดับ และชมรมเงินทองไทยศรีสัชนาลัย 800 ปี สรุปได้ ว่า รูปแบบที่เน้นลักษณะการเรียงร้อยและรูปทรงของลูกประคำ มีความเหมาะสมมากที่สุด และผล จากการศึกษาความพึงพอใจจากผู้เชี่ยวชาญได้ผลรับเป็นที่น่าพอใจ โดยให้ความสนใจชุด เครื่องประดับร่วมสมัยโดยใช้เทคนิคของงานสกุลช่างสุโขทัยเป็นอย่างมาก The object of this research ,the researcher would like to study and develop the design of Thai jewelry by combining the Sukhothai’s technique and KrewTao’s technique , a bunch of vine, and her attitude to become a contemporary jewelry which can wear/use in everyday life. The researcher studied a past work of Sukhothai jewelry about the pattern and design on site at the association of 800 years of Srichadchanalai Thai jeweler, Sukhothai province to bring an ideal and also learning a technique to create jewelry herself. And besides that the researcher also studied a jewelries which inspired from Thai cultural created by 3 greatest artists Bernard Maquin ,Chus Bures and Niphol Yodkhampun. The Sukhothai golden jewelry once was very famous in Thai society but as the times gone by the popularity has decline, on this point its inspired the researcher to rehabilitate it in a contemporary way by 4 method which is 1. The produce of jewelry by Sukhothai’s technique. 2. The pattern of Sukhothai’s jewelry. 3. The designing of geometry. 4.The format of Sukhothai’s bead. The contemporary jewelry which the researcher created by combining the Sukhothai’s technique and the format of Sukhothai’s bead pleased by Sukhothai’s technicians, business owners, designers and the members of 800 years of Srichadchanalai Thai jeweler.en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectร่วมสมัยen_US
dc.subjectทองสุโขทัยen_US
dc.subjectCONTEMPORARYen_US
dc.subjectSUKHOTHAI JEWELRYen_US
dc.titleศึกษาและพัฒนางานออกแบบเครื่องประดับสกุลช่างสุโขทัยให้ร่วมสมัยen_US
dc.title.alternativeDESIGN AND DEVELOPMENT FROM SUKHOTHAI STYLE TO CONTEMPORARY JEWELRYen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
54157318 ศศนันท์ ศรีเพ็ชร์พันธุ์.pdf54157318 ; สาขาวิชาการออกแบบเครื่องประดับ -- ศศนันท์ ศรีเพ็ชร์พันธุ์11.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.