Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/73
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorโสภากิติบูรณ์, กนกวรรณ-
dc.contributor.authorSOPAKITIBOON, KANOKWAN-
dc.date.accessioned2017-08-25T03:45:59Z-
dc.date.available2017-08-25T03:45:59Z-
dc.date.issued2559-08-05-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/73-
dc.description56352302 ; สาขาวิชาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข -- กนกวรรณ โสภากิติบูรณ์en_US
dc.description.abstractการรั่วไหลของวัตถุออกฤทธิ์ออกนอกระบบการควบคุมและนาไปใช้ในทางที่ผิด เป็นปัญหาที่พบได้ในปัจจุบัน การมีระบบการควบคุมและรายงานที่ดีเป็นขั้นตอนสาคัญที่ควรได้รับการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบรายงานวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทในประเภท 4 และเพื่อพัฒนาระบบรายงานวัตถุที่ออกฤทธิ์ ต่อจิตและประสาทในประเภท 4 ให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น โดยมีศึกษาเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. ศึกษา ระบบการควบคุมวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทในประเภท 4 ในประเทศไทยและต่างประเทศ 2. ศึกษาผลการ ตรวจสอบ คลินิกหรือโรงพยาบาลที่ซื้อวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทในประเภท 4 ตารับ Diazepam และ Lorazepam ในปี 2557 ของ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และสถานการณ์การรั่วไหลของวัตถุออกฤทธิ์ ที่กองควบคุมวัตถุเสพติด อย. ตรวจสอบพบ ในปี 2558 และ 3. ศึกษาข้อมูลจากการเอกสารเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ ระยะที่ 2 พัฒนาระบบรายงาน วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทในประเภท 4 ให้เหมาะสม โดยสัมภาษณ์บุคคลที่มีประสบการณ์ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวัตถุที่ ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทในประเภท 4 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด และค่า ต่าสุด ใช้การวิเคราะห์เนื้อหากับข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า ตารับวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 4 ที่ขึ้นทะเบียนในประเทศไทย สารสาคัญที่มีจานวนทะเบียน ตารับ มากที่สุด คือ Diazepam มี 54 ตารับ (37.5%) และยังเป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 4 ที่มีการใช้สูงสุดในประเทศไทยตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2553 – 57 เฉลี่ยปีละ 175,895,407 เม็ด และกระจายไปยังโรงพยาบาลของรัฐสูงสุด เฉลี่ยปีละ 68.88% โรงพยาบาลของ รัฐเป็นจุดที่ประชาชนเข้าถึงวัตถุออกฤทธิ์ได้มากที่สุด และจากการสัมภาษณ์บุคคลที่มีประสบการณ์ในเรื่องวัตถุออกฤทธิ์ใน ประเภท 4 และการศึกษาสถานการณ์การรั่วไหลของวัตถุออกฤทธิ์ในปี 2558 พบว่า โรงพยาบาลของรัฐเป็นจุดรั่วไหลที่ควรต้อง เฝ้าระวัง อย่างเข้มงวด ระบบรายงานเป็นเครื่องมือสาคัญที่ อย.ใช้ตรวจสอบการรั่วไหลของวัตถุออกฤทธิ์ตามกฎหมาย แต่ยังพบ ข้อที่ควรปรับปรุงในระบบรายงานปัจจุบัน คือ ขาดการสอบทานข้อมูลระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อ แม้ในปัจจุบันจะมีระบบสารสนเทศ ออนไลน์ให้ผู้ขายรายงานแต่การสอบทานข้อมูลทั้งการนาเข้า การผลิต การขาย และการซื้อ กระทาได้ยากเนื่องจากระบบ สารสนเทศออนไลน์ขาดการเชื่อมต่อข้อมูลทุกส่วนเข้าด้วยกัน ผู้ซื้อยังคงรายงานการรับจ่าย วัตถุออกฤทธิ์ในรูปแบบเอกสาร รวม ไปถึงการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลและพนักงานเจ้าหน้าที่มีจานวนไม่เพียงพอในการสอบทานข้อมูล อย. ขาดการ สื่อสารกับผู้ผลิต ผู้นาเข้า ผู้ขายและผู้ซื้อ เพื่อสร้างความเข้าใจในระบบรายงานและการร่วมกันเฝ้าระวังการรั่วไหลของ วัตถุออก ฤทธิ์ การพัฒนาระบบรายงานเสนอให้ ผู้ซื้อรายงานผ่านระบบสารสนเทศออนไลน์โดยแบ่งการพัฒนาเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ออกแบบระบบรายงานให้ใช้งานได้ง่าย ระยะที่ 2 กาหนดให้ผู้ซื้อรายใหม่รายงานผ่านระบบสารสนเทศออนไลน์ ระยะที่ 3 ระยะ เปลี่ยนผ่านสู่ระบบรายงานสารสนเทศออนไลน์เต็มรูป นอกจากกาหนดให้ผู้ซื้อทุกรายต้องรายงานผ่านระบบสารสนเทศออนไลน์ แล้ว ยังอาจพัฒนาระบบรายงานแบบอัตโนมัติโดยใช้รหัสในการส่งรายงาน คล้ายกับระบบรายงานของสหรัฐอเมริกาและใน อนาคตประเทศไทยอาจต้องมีระบบที่ครอบคลุมการติดต่อสื่อสารทุกประเภท และเป็นศูนย์กลางข้อมูลตั้งแต่การสั่งซื้อ การ จ่ายเงิน การจัดส่งวัตถุออกฤทธิ์ ทั้งหมด โดยที่ผู้ขายไม่ต้องจัดทารายงานมายัง อย.ทุกเดือนอีกต่อไป คล้ายกับระบบการควบคุม สารตั้งต้นในการผลิตยาเสพติดของสหรัฐอเมริกา ควรมีการศึกษาการรับรู้ของแพทย์ เภสัชกร ทันตแพทย์ สัตวแพทย์ เกี่ยวกับการ รายงานและการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2518 รวมถึงมีการพัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้ใน ระบบรายงานสารสนเทศออนไลน์ ที่มีประสิทธิภาพและมีการทดสอบก่อนนาไปใช้จริงต่อไป Illicit access to psychotropic substances and drug abuse are still prevalent in the present. Control system and report are factors that need to be developed efficiently. The objective of this cross-sectional study is to study the report system of psychotropic substance in schedule 4, in order to develop the system into the more efficient level. The study comprises 2 phases. The first phase comprises 3 parts, 1) to study the control system of psychotropic substance in schedule 4 in Thailand and foreign countries, 2) to study the audit result of hospitals and clinics with access to psychotropic substance in schedule 4, Diazepam and Lorazepam in 2014, which had been conducted by Food and Drug Administration Thailand. Furthermore, the situation of illicit access to psychotropic substance, inspected in 2015 by Narcotic control division, will also be studied. 3) to study from documentary in psychotropic substance. The second phase is to efficiently develop the report system of psychotropic substance in schedule 4. Qualified personnel, with experience pertaining to the substance, will be interviewed for the study. The information acquired by the aforementioned process will be analyzed by descriptive statistics (Frequency, Percentage, Mean, Maximum and Minimum). The study indicates that Diazepam, 54 registrations (37.5% of registered psychotropic substance in schedule 4), is the psychotropic substance in schedule 4 with the highest usage in Thailand during 2010-2014 (175,895,407 units per year on average). It also has the highest distribution rate at 68.88% per year (state hospitals). The interview suggests that the majority of access to Diazepam is through state hospitals, so that strict surveillance should be implemented. Report system is the fundamental means to inspect the illicit access to psychotropic substance. However, the lack of online information database makes inspecting background information of importers, manufacturers, buyers and sellers problematic. Most database is still in hard copy and the number of personnel for the inspection is inadequate. Communication between importers, manufacturer, buyers and sellers does not suffice, in order to create mutual understandings and take precaution against the illicit access to psychotropic substance. Report system development requires online information of buyers, which could be gradually achieved through 3 stages. 1) Report system needs to be redesign to become user friendly. 2) New buyers are required to register online. 3) All buyers are required to register online (hard copy documents have to be recorded as digital form). Moreover, it is also possible to develop automatic report system, e.g. The Automation of Reports and Consolidated Order System (ARCOS); a system developed by the US. In the future, it is also mandatory that the substance ordering system, covering all communication and managing purchases and transport of psychotropic substance, is required. Monthly purchase reports from sellers would be unnecessary, e.g. Controlled Substances Ordering System (CSOS); developed by the US. There should be studies of recognition of medical practitioner, pharmacist, a first class modern practitioner in the branch of dentistry to his patient or by a first class veterinarian about report system and law-abiding Psychotropic Substances Act of 2518 B.E. and also develop efficient information online program and should be test before official uses.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectวิเคราะห์en_US
dc.subjectการพัฒนาen_US
dc.subjectระบบรายงานen_US
dc.subjectวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทen_US
dc.subjectANALYSISen_US
dc.subjectDEVELOPMENTen_US
dc.subjectREPORTING SYSTEMen_US
dc.subjectPSYCHOTROPIC SUBSTANCESen_US
dc.titleการพัฒนาระบบรายงานเพื่อการควบคุมวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทในประเภท 4en_US
dc.title.alternativeDEVELOPMENT OF REPORTING SYSTEM FOR CONTROLLING PSYCHOTROPIC SUBSTANCES IN SCHEDULE 4en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Pharmacy

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
3.56352302 กนกวรรณ โสภากิติบูรณ์.pdf4.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.