Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/750
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชัยนาม, จรรยา-
dc.contributor.authorChainam, Janya-
dc.date.accessioned2017-08-31T03:26:13Z-
dc.date.available2017-08-31T03:26:13Z-
dc.date.issued2559-07-28-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/750-
dc.description57901303 ; สาขาวิชาทัศนศิลปศึกษา -- จรรยา ชัยนามen_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ภาษามือไทย เรื่อง คำศัพท์พื้นฐานเพื่อการออกแบบทางศิลปะ สำหรับนักศึกษาหูหนวก ระดับปริญญาตรี 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนทดสอบความเข้าใจ ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ภาษามือไทย เรื่อง คำศัพท์พื้นฐานเพื่อการออกแบบทางศิลปะ สำหรับนักศึกษาหูหนวก ระดับปริญญาตรี 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการใช้สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ภาษามือไทย เรื่อง คำศัพท์พื้นฐานเพื่อการออกแบบทางศิลปะ สำหรับนักศึกษาหูหนวก ระดับปริญญาตรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาหูหนวกระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 วิชาเอกศิลปกรรมประยุกต์เครื่องดินเผา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล ภาคเรียนที่ 2 ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 14 คนได้มาโดยใช้การเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1 ) สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ภาษามือไทย เรื่อง คำศัพท์พื้นฐานเพื่อการออกแบบทางศิลปะ สำหรับนักศึกษาหูหนวก ระดับปริญญาตรี 2) แบบทดสอบความเข้าใจภาษามือไทย เรื่อง คำศัพท์พื้นฐานเพื่อการออกแบบทางศิลปะ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการใช้สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ภาษามือไทย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย (x) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่า T-Test (dependent simple test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการประมินของผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านโดยภาพรวมสามารถสรุปว่าสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ภาษามือไทย เรื่อง คำศัพท์พื้นฐานเพื่อการออกแบบ มีความเหมาะสมมาก มีค่าเฉลี่ยรวม x = 4.45 ซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง 3.50-4.49 จึงสรุปได้ว่าสามารถนำไปใช้ได้ 2) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนจากสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ภาษามือไทย เรื่อง คำศัพท์พื้นฐานเพื่อการออกแบบทางศิลปะ พบว่าคะแนนทดสอบความรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ภาษามือไทย เรื่อง คำศัพท์พื้นฐานเพื่อการออกแบบทางศิลปะ สำหรับนักศึกษาหูหนวก ระดับปริญญาตรี ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยรวม x = 4.59 The purposes of this research were as following; First, to create multi-media for Thai Sign Language Learning on basic vocabularies for Art and Design for Deaf Students at Tertiary Level. Second, to compare the score, test the comprehension as pre-test and post-test by Thai Sign Language multi-media for Thai Sign Language Learning in basic vocabularies for Art and Design for Deaf Students at Tertiary Level. Finally, to study the satisfaction of students towards multi-media using to learn Thai Sign Language in basic vocabularies for Art and Design for Deaf Students at Tertiary Level. The samples of this research ware 14 Deaf Students in second year of Ceramic Art studying in second term of academic year 2015 selected by purposive sampling method. The research instruments using in this research were composed with 1) Multi-media for Thai Sign Language Learning in basic vocabularies for Art and Design for Deaf Students at Tertiary Level 2) Comprehension test in Thai Sign Language on vocabularies in basic art design 3) Questionnaires for student’s satisfaction towards the multi-media for Thai Sign Language Learning. Data Analysis by average (x), standard deviation and T-test (dependent simple test). The finding revealed that 1) the result of data analysis from evaluation of 3 specialists, was that the multi-media for Thai Sign Language Learning in basic vocabularies for Art and Design was very suitable ( x= 4.45). 2) the result of score comparison of pre-test and post-test from multi-media for Thai Sign Language Learning in basic vocabularies for Art and Design, found that the score was different in statistic at .05 3) students are satisfied to the multi-media for Thai Sign Language Learning in basic vocabularies for Art and Design for Deaf students at Tertiary Level, the most level ( x = 4.59).en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectสื่อมัลติมีเดียภาษามือไทยen_US
dc.subjectคำศัพท์ภาษามือไทยพื้นฐานทางการออกแบบen_US
dc.subjectTHAI SIGN LANGUAGE MULTI-MEDIAen_US
dc.subjectTHAI SIGN LANGUAGE VOCABULARIESen_US
dc.titleการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ภาษามือไทย เรื่อง คำศัพท์พื้นฐานเพื่อการออกแบบทางศิลปะ สำหรับนักศึกษาหูหนวก ระดับปริญญาตรีen_US
dc.title.alternativeTHE DEVELOPMENT OF MULTIMEDIA FOR THAI SIGN LANGUAGE LEARNING IN BASIC VOCABULARIES FOR ARTS AND DESIGN FOR DEAF STUDENTS AT TERTIARY LEVELen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts and Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57901303 จรรยา ชัยนาม.pdf6.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.