Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/751
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุขุมินท, เจิดศิลป์ | - |
dc.contributor.author | Sukhuminda, Jerdsilp | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-31T03:26:41Z | - |
dc.date.available | 2017-08-31T03:26:41Z | - |
dc.date.issued | 2559-08-04 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/751 | - |
dc.description | 54901320 ; สาขาวิชาทัศนศิลปศึกษา -- เจิดศิลป์ สุขุมินท | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์หัวข้อเรื่อง “โรคกลัว” เป็นการสร้างสรรค์รูปแบบทางทัศนศิลป์ ที่แสดงผ่านการประกอบรูปทรง สัญลักษณ์ ของอวัยวะภายในร่างกายมนุษย์ และสิ่งต่างๆที่อยู่ในธรรมชาติ เข้าด้วยกัน จนก่อให้เกิดรูปทรง สัญลักษณ์ทางทัศนศิลป์ ที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นพยาธิสภาพหรือสภาวะของโรคที่มีลักษณะเกินจริง ที่เกิดขึ้นจากความหวาดกลัวอันเกินพอดีต่อโรคภัยไข้เจ็บ เพราะในสังคมปัจจุบัน สังคมได้มีโรคภัยไข้เจ็บเกิดขึ้นมากมาย อีกทั้งยังมีการบริโภคข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคภัยไข้เจ็บอย่างหลากหลายโดยเฉพาะข้อมูลเชิงกายภาพที่มีลักษณะชวนให้นึกถึงสภาวะอันผิดปกติในร่างกายมนุษย์ ที่ทำข้าพเจ้าเกิดความหวาดกลัวต่อข้อมูลเหล่านั้น จนบ่อยครั้งที่มักจะเกิดความกลัวว่าจะมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นบนร่างกายอย่างไม่มีเหตุผล โดยมักนึกถึงภาพของโรคภัยไข้เจ็บที่มีลักษณะเกินจริง ที่ถูกสร้างขึ้นจากจินตนาการ ซึ่งความกลัวจนเกินพอดีเหล่านี้จัดได้ว่าเป็นโรคกลัวอย่างหนึ่ง และเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ จากอิทธิพลภายในและภายนอก จากข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับ สภาวะความกลัว และโรคกลัว ผ่านผลงานทัศนศิลป์แบบ 2 มิติ ด้วยเทคนิคการตัดต่อภาพแบบดิจิตอลอาร์ต ผ่านผลงานวิทยานิพนธ์หัวข้อเรื่อง “โรคกลัว” ขอบเขตการศึกษานั้นสามารถจะแบ่งเป็น ขอบเขตด้านเนื้อหา ที่แสดงเนื้อหาเกี่ยวกับโรคกลัวหรือความกลัว ที่มีต่อลักษณะทางกายภาพที่แสดงออกถึงสภาวะของโรค และขอบเขตด้านการสร้างสรรค์ ที่เป็นงานแบบ 2 มิติ โดยใช้เทคนิคตัดต่อและตกแต่งภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยได้ใช้วิธีการประมวลแนวความคิด การรวบรวมข้อมูล การพัฒนาและวิเคราะห์รูปแบบการสร้างสรรค์ เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยข้าพเจ้าได้สร้างสรรค์ผลงานดิจิทัลอาร์ต จำนวนทั้งหมด 6 ชิ้น ขนาด 100 ซ.ม. x 150 ซ.ม., 115 ซ.ม. x 135 ซ.ม., 140 ซ.ม. x 110 ซ.ม., 135 ซ.ม. x 110 ซ.ม., 135 ซ.ม. x 110 ซ.ม., 100 ซ.ม. x 145 ซ.ม. เพื่อถ่ายทอดความหวาดกลัวอันเกินพอดีของข้าพเจ้าที่มีต่อโรคภัยไข้เจ็บอย่างไร้เหตุผล โดยนำเสนอลักษณะทางกายภาพของร่างกายมนุษย์ ที่แสดงถึงสภาวะของโรคที่ดูเกินจริง This thesis ‘Phobia’ is created in the form of virtual art that is the combination of shape, symbol, and organ of human body including natural material in the form of abnormal pathology or the condition of deceases that cause the over react to the fear of the deceases. In today society, there are so many kinds of decease and varieties of information for consumers about the abnormal physical of the human body. It’s very often that the fear is on the unreasonable abnormal appearance from the over imaginary. This unreasonable fear is of the decease that is the motivation to analyze and synthesize the influence on both internal and external to the fear condition through the 2 dimensions virtual art under the digital art work in this thesis ‘Phobia’ The scope of study is comprising of story of decease and fear to the appearance of decease and the creation in 2 dimension virtual art by computer graphic. There are 6 pieces of digital virtual art at size 100 cm. x 150 cm., 115 cm. x 135 cm., 140 cm. x 110 cm., 135 x 110 cm., 135 x 110 cm. and 110 x 145 cm. To communicate my excess of fear from disease is Illogically. By present from disease human physical to overaction of disease. | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
dc.subject | โรคกลัว | en_US |
dc.subject | พยาธิสภาพ | en_US |
dc.subject | ศิลปะดิจิทัล | en_US |
dc.subject | PHOBIA | en_US |
dc.subject | DISEASE | en_US |
dc.subject | DIGITAL ART | en_US |
dc.title | โรคกลัว | en_US |
dc.title.alternative | PHOBIA | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts and Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
54901320 เจิดศิลป์ สุขุมินท.pdf | 8.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.