Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/838
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เจริญสลุง, ฐิตินันท์ | - |
dc.contributor.author | CHAROENSLOONG:, THITINUN | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-31T03:47:19Z | - |
dc.date.available | 2017-08-31T03:47:19Z | - |
dc.date.issued | 2016-03-25 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/838 | - |
dc.description | 55701308 ; สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา -- ฐิตินันท์ เจริญสลุง | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาองค์ความรู้ของเทคนิคเสียงควบสำหรับทรอมโบน: กรณีศึกษาผลงาน Three Pieces for Three Instruments ประพันธ์โดย ปิยวัฒน์ หลุยลาภประเสริฐ และนำมาสร้างแบบฝึกหัดเทคนิคเสียงควบสำหรับทรอมโบน วิธีการดำเนินวิจัยประกอบด้วย การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคเสียงควบจาก ตำรา หนังสือ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แหล่งข้อมูลอื่นๆ และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญการเล่นทรอมโบน และผู้ประพันธ์เพลง และนำองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้และสร้างแบบฝึกหัด ผลจากการวิจัย พบว่า ผู้เชี่ยวชาญและผู้ประพันธ์เพลงให้คุณลักษณะเฉพาะของสีสัน ของเสียง (Tone Color) และเสียงควบที่เหมาะสมกับบริบททางดนตรีในบทประพันธ์ และคำแนะนำ การฝึกซ้อมเทคนิคเสียงควบสำหรับทรอมโบน ผู้วิจัยได้นำข้อมูลดังกล่าวมาประยุกต์และสร้างแบบฝึกหัด เทคนิคเสียงควบ ผลของการใช้แบบฝึกหัดเทคนิคเสียงควบ ทำให้ผู้วิจัยสามารถเล่นเทคนิคเสียงควบใน บทเพลง Three Pieces for Three Instruments ใกล้เคียงกับลักษณะของเสียงควบที่ผู้ประพันธ์ ต้องการได้อีกด้วย ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยฉบับนี้จะเป็นแนวทางแก่นักทรอมโบนที่ต้องการศึกษา เทคนิคเสียงควบสำหรับทรอมโบน หรือสามารถนำแนวทางการฝึกซ้อมเสียงควบไปประยุกต์ใช้กับ เทคนิคเดียวกันในเครื่องดนตรีของตนได้ This research aims to study the knowledge of multiphonic technique in trombone playing by using Piyawat Louilarpprasert’s Three Pieces for Three Instruments as a case study and to create an exercise for the technique. The research procedure consists of collecting information regarding to multiphonic technique from treatises, books, researches, other sources, and interviews of trombone playing experts and composers Research findings reveals that the experts and the composers gave a specific and suitable characteristic of tone color for multiphonic technique and advised how to practice the technique. Later, the researcher uses these relevant information to apply and create the multiphonic exercise for trombone. The result of using the exercise helps bring the researcher perform the multiphonic technique closer to the composer’s intention. The researcher hopes that this study will be a useful path for trombonists who need to learn the technique and a helpful application to the same technique of the other musical instruments. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
dc.subject | เทคนิคเสียงควบ | en_US |
dc.subject | เสียงควบสำหรับทรอมโบน | en_US |
dc.subject | ทรอมโบน | en_US |
dc.subject | MULTIPHONIC | en_US |
dc.subject | MULTIPHONIC FOR TROMBONE | en_US |
dc.subject | TROMBONE | en_US |
dc.title | เสียงควบสำหรับทรอมโบน: กรณีศึกษาผลงาน Three Pieces for Three Instruments ประพันธ์โดย ปิยวัฒน์ หลุยลาภประเสริฐ. | en_US |
dc.title.alternative | MULTIPHONIC FOR TROMBONE: PIYAWAT LOUILARPPASERT’S THREE PIECES FOR THREE INSTRUMENTS. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Music |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ฐิตินันท์ เจริญสลุง.pdf | 9.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.