Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/842
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสวัสดิพฤกษา, อิทธิพล-
dc.contributor.authorSAWADIPUKSA, ITTHIPHON-
dc.date.accessioned2017-08-31T03:48:16Z-
dc.date.available2017-08-31T03:48:16Z-
dc.date.issued2016-07-27-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/842-
dc.description54701324 ; สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา -- อิทธิพล สวัสดิพฤกษาen_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วีธีการวิจัยทางมานุษยดุริยางควิทยามี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแตรวงชาวบ้าน 2) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปและลักษณะทางดนตรีของแตรวงชาวบ้าน 3) เพื่อศึกษาการปรับตัวของ แตรวงชาวบ้านในสังคมไทยปัจจุบัน โดยศึกษาจากคณะแตรวงชาวบ้านทั้งสิ้น 4 คณะในจังหวัด กรุงเทพมหานครและสมุทรปราการ ผลการวิจัยพบว่าแตรวงชาวบ้านได้ปรับปรุงเปลื่ยนแปลงนำเอาวัฒนธรรมแตรวงมา รับใช้ความเชื่อประเพณีทางสังคมอย่างยาวนานและต่อเนื่อง แตรวงชาวบ้านในปัจจุบันมีการ ปรับปรุงเปลื่ยนแปลงหลายอย่างทั้ง สภาพทวั่ ไปและลักษณะทางดนตรีในประเด็น เครื่องดนตรีมี การเพิ่มเครื่องดนตรีไฟฟ้า เช่น เบส ศียบอร์ด การใช้รถเข็นร่วมในขบวนแห่ บทเพลงมีการเพิ่ม บทบาทของเพลงลูกทุ่ง เพลงประเภทเพลงมาร์ชและเพลงไทยเดิมถูกลดบทบาทลง การแต่งกายที่ มีการปรับปรุงเปลื่ยนแปลง เป็นต้น เป็นลักษณะของการเปลื่ยนแปลงในเชิงการปรับปรุงเพิ่มเติม เพื่อความอยู่รอดให้เข้ากับยุคสมัย ปัจจัยสำคัญที่ทำให้แตรวงชาวบ้านเกิดการปรับตัวคือปัจจัย ภายในและภายนอกจาก ปัจจัยภายใน คือการสร้างรายได้เพื่อความอยู่รอดของแตรวงและ เทคโนโลยีที่มีความทันสมัยขึน้ และจากปัจจัยภายนอก คือสภาพสังคมที่เปลื่ยนแปลงไปการ แข่งขันที่มีมากขึ้นความนิยมทางด้านดนตรีที่เปลื่ยนไปของผู้ชมและผู้ว่าจ้าง This research is a qualitative research on the term of Ethnomusicology. the research have 3 objectives, 1) To study the origin of Traewong chaoban and development. 2) to study about the general condition and element of Traewong chaoban 3) to study about the adaptation of Traewong chaoban in Bangkok and Samutprakarn province. This research will study on 4 Traewong chaoban, The result indicated that, local Thai people did adapted the usage of bras to support their social believes and cultures for a long period, that it be recognized as the Traewong chaoban. At the present the Traewong chaoban have changed in many aspects, both in general condition and instrument element for example, the electronic instrument were added in such as, bass and keyboard, , the usage of cart in the parade, songs are more integrate with local Thai folk songs, the adaptation in costumes. These changed features are the adaptation improvement for their survival through the change of time. The major factors that make Traewong chaoban to adapt have come from 2 ways, the inner factor and the outer factor. The inner factor are the need in generate income for the surviving of the band and the usage of new technologies. The outer factor are the change in social environment, the increasing in music industry competition and the changing in music trends from both listener and the band client.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectแตรวงชาวบ้านen_US
dc.subjectการปรับตัวen_US
dc.subjectTRAEWONG CHAOBANen_US
dc.subjectADAPTATIONen_US
dc.titleการปรับตัวของแตรวงชาวบ้ านในสังคมไทยปัจจุบันen_US
dc.title.alternativeTHE ADAPTATION OF TRAEWONG CHAOBAN IN PRESENT THAI SOCIETY.en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
54701324 อิทธิพล สวัสดิพฤกษา.pdf6.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.