Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/894
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปานศรี, ขนิษฐา | - |
dc.contributor.author | Pansri, Kanitta | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-31T04:03:02Z | - |
dc.date.available | 2017-08-31T04:03:02Z | - |
dc.date.issued | 2559-10-03 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/894 | - |
dc.description | 54057201 ; สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น -- ขนิษฐา ปานศรี | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปทางสถาปัตยกรรมเรือนพักอาศัยของกลุ่มคนที่นิยามตัวเองว่า “ไทหล่ม” แห่งบ้านแก่งโตน มุ่งเน้นเนื้อหาด้านความสัมพันธ์ของพื้นที่ใช้สอยกับวิถีชีวิต โดยเฉพาะพื้นที่ใช้สอยภายในเรือนอันเกี่ยวเนื่องกับคติความเชื่อ เฮียนยองหิน ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนลดลงจนเหลืออยู่น้อยมาก คือเรือนกรณีศึกษา วิธีการศึกษาเน้นการเก็บข้อมูลภาคสนามและสัมภาษณ์เป็นหลักประกอบเข้ากับข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง โดยสรุปแล้ว ชาวไทหล่ม หนึ่งในกลุ่มคนผู้พูดภาษาตระกูลไท-กะได ที่หมู่บ้านกรณีศึกษาอยู่ในสังคมเกษตรกรรม ผังบริเวณที่อยู่อาศัยของชนกลุ่มนี้ประกอบไปด้วยลานบ้าน ตัวเรือน เล้าข้าว เล้าสัตว์ ตู่บน้อย (ศาลานั่งเล่น) และส้วม สำหรับตัวเรือน ‘เฮียนยองหิน’ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ เรือนหลัก เรือนครัว และชานอเนกประสงค์ซึ่งทำหน้าที่เป็นพื้นที่เชื่อมต่อ ตัวเรือนนั้นเสาทุกต้นวางบนก้อนหินธรรมชาติ และก่อสร้างด้วยโครงสร้างไม้ เข้าสลักเดือย ตอกลิ่ม ผลการศึกษาพบว่า ชาวไทหล่มให้ความสำคัญกับลำดับศักดิ์ของงานสถาปัตยกรรม ซึ่งแสดงออกด้วยความสูง-ต่ำของพื้นที่และองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม ทั้งในระดับชุมชนและระดับเรือน ในการสร้างเรือนมีคติความเชื่อเข้ามากำกับให้ต้องทำตาม ตั้งแต่การวางเรือนโดยให้ความสำคัญกับทิศทางการโคจรของดวงอาทิตย์ และตั้งแต่หัวบันไดทางขึ้นเรือนจนกระทั่งพื้นที่ภายใน การจัดวางพื้นที่ใช้สอยภายในเรือนเรียงลำดับตามศักดิ์ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์โดยถือเอาทิศตะวันออกเป็นหมุดหมายสำคัญ ทุกพื้นที่ภายในเรือนมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย พื้นที่ต่าง ๆ ได้รับการปรับใช้ให้สอดคล้องกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามมิติเวลาของชีวิต This thesis aims to study the architecture of Tai Lom’s house at Baan Kang Tone. The content focuses on the relationship between the living area and way of life which is connected with the belief in a residential house. Hianyonghin which currently had left just a few is the case studies. The method of data collection focused mainly on field survey and interviews, combined with the data collected from related document. In summarize, Tai Lom, a group of people who spoke Tai-Kadai Language, in the studied village is an agricultural society. Their residential layout consists of a courtyard, a house, granary, stall, Toob Noi (gazebo) and toilet. A house, Hianyonghin, is divided into three main parts: the main house, kitchen, and multipurpose terrace which performs as a connective space. For the main house, all poles are placed on a natural stone; and built by the wooden structure fixed with dowel and wedge. The result of a study found that Tai Lom people importantly focuses on the hierarchy of architecture which is expressed by height – low of the floor and architectural elements in both the community and household level. There is a belief that controls the house construction from the orientation, the building is placed along east-west direction, and from the front stairs up to the house till the interior space. The functional spaces layout is well arranged by following to sacred things which hold out the east as a key sequence. The interior space is related to the way of life from birth until death. According to the activities taking place, any space have been adapted to fit a change of use along the time dimension of life. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
dc.subject | เฮียนยองหิน | en_US |
dc.subject | ไทหล่ม | en_US |
dc.subject | ความสัมพันธ์ | en_US |
dc.subject | HIANYONGHIN | en_US |
dc.subject | TAI LOM | en_US |
dc.subject | RELATIONSHIP | en_US |
dc.title | การศึกษาความสัมพันธ์ของพื้นที่กับวิถีชีวิตในเรือนพักอาศัยของชาวไทหล่ม กรณีศึกษา เฮียนยองหิน บ้านแก่งโตน ตำบลนาซำ อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ | en_US |
dc.title.alternative | A STUDY OF THE RELATIONSHIP BETWEEN THE AREA AND WAY OF LIFE IN RESIDENTIAL HOUSE OF TAI LOM, A CASE STUDY OF HUEANYONGHIN, BAAN KANG TONE, TUMBON NASAM, AMPHOE LOM KAO, PHETCHABOON PROVINCE | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
54057201 ขนิษฐา ปานศรี.pdf | 75.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.