Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/913
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นานา, ดนุพนธ์ | - |
dc.contributor.author | Nana, Danuphon | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-31T04:08:04Z | - |
dc.date.available | 2017-08-31T04:08:04Z | - |
dc.date.issued | 2559-12-19 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/913 | - |
dc.description | 56405323 ; สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม -- ดนุพนธ์ นานา | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดเวลาที่เกิดจากการขัดข้องและเสียหายของเครื่องจักรอย่างกะทันหันในกระบวนการผลิตครีมเทียม โดยนำทฤษฎีการซ่อมบำรุงบนพื้นฐานความน่าเชื่อถือมาประยุกต์ใช้ในเครื่องจักรโรงงานผลิตการทำแห้งแบบพ่นฝอยตัวอย่าง และจัดทำแผนการซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกันบนพื้นฐานความน่าเชื่อถือให้กับเครื่องจักร ขั้นตอนตามหลักการซ่อมบำรุงรักษานี้เริ่มจาก การเลือกเครื่องจักรที่มีความสำคัญ ซึ่งกระทบต่อกระบวนการผลิตในโรงงานตัวอย่าง ระบุระบบการทำงานย่อยและหน้าที่การใช้งาน ระบุความล้มเหลวและจัดลำดับความสำคัญของชิ้นส่วนอุปกรณ์ วิเคราะห์คุณลักษณะความเสียหาย สาเหตุ และผลกระทบที่เกิดขึ้น จากนั้นเลือกเทคนิคการซ่อมบำรุงรักษาที่เหมาะสมกับชิ้นส่วนอุปกรณ์ สร้างแผนการซ่อมบำรุงรักษา และนำไปใช้งานต่อไป จากผลการดำเนินการวิจัยพบว่า การนำทฤษฎีการซ่อมบำรุงบนพื้นฐานความน่าเชื่อถือมาประยุกต์ใช้ในเครื่อง Homo GEA และเครื่อง Sieving ในโรงงานผลิตการทำแห้งแบบพ่นฝอยตัวอย่าง เลือกเทคนิคการซ่อมบำรุงรักษาโดยใช้ RCM Logic tree ร่วมกับการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นจากการซ่อมบำรุงรักษาเมื่อเครื่องจักรเกิดการหยุดฉุกเฉิน ในการเลือกเทคนิคการซ่อมบำรุงรักษาที่เหมาะสม สามารถเพิ่มเวลาเฉลี่ยการเสียหาย (MTBF) จากเดิม 19,704 นาที เป็น 33,840 นาที หรือเพิ่ม 41.70% และสามารถเพิ่มอัตราความพร้อมในการใช้งานของเครื่องจักร (Machine Availability) เพิ่มขึ้นจากเดิม 99.16 % เป็น 99.84 % หรือเพิ่ม 0.68% อย่างไรก็ตามข้อมูลและระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินงานวิจัยมีข้อจำกัดอยู่ที่ 8 เดือน This research aims to reduce time of the breakdown and damage of the machine in non-dairy creamer production process by using the theory of reliability centered maintenance on the sample factory‘s spray dried machines; incorporates with reliability based preventive maintenance planning. This principle of maintenance begins with the selection of machine which affects production process of the sample factory, identification of sub-system, function, failures and analysis of damage, cause and effect, selection of appropriate maintenance techniques, including creation and implementation of maintenance plan. The results showed that the application of reliability centered maintenance technique on Homo GEA machine and sieving machine in the sample factory can increase mean time between failures (MTBF) from 19,704 minutes to 33,840 minutes or increases 41.70% and increase machine availability from 99.16% to 99.84% or increases 0.68%. However, the data and time used in the research is limited to 8 months. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
dc.subject | การซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกัน | en_US |
dc.subject | การซ่อมบำรุงรักษาโดยมุ่งความน่าเชื่อถือเป็นศูนย์กลาง | en_US |
dc.subject | การวิเคราะห์อาการขัดข้องและผลกระทบ | en_US |
dc.subject | PREVENTIVE MAINTENANCE | en_US |
dc.subject | RELIABILITY CENTERED MAINTENANCE | en_US |
dc.subject | FAILURE MODE EFFECTS ANALYSIS | en_US |
dc.title | การบำรุงรักษาบนพื้นฐานของความน่าเชื่อถือ กรณีศึกษา โรงงานอาหารทำแห้งแบบพ่นฝอย | en_US |
dc.title.alternative | RELIABILITY CENTERED MAINTENANCE: A CASE STUDY OF SPRAY DRIED FOOD FACTORY | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Engineering and Industrial Technology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
56405323 ดนุพนธ์ นานา.PDF | 8.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.