Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1040
Title: การบริหารจัดการการศึกษาของสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในชุมชน พหุวัฒนธรรม ของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา
Other Titles: THE MULTICULTURAL COMMUNITIES SCHOOL ADMINISTRATION IN KOH MUENG PRANAKHON SI AYUTTHAYA
Authors: วงษ์แหยม, ขวัญสุดา
Wongyaem, Kwansuda
Keywords: การบริหารจัดการการศึกษา
ชุมชนพหุวัฒนธรรม
SCHOOL ADMINISTRATION
MULTICULTURAL COMMUNITIES
Issue Date: 7-Apr-2560
Publisher: มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract: การวิจัยนี้ใช้เทคนิคการวิจัยอนาคต EDFR มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อทราบ การบริหารจัดการการศึกษาของสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในชุมชนพหุวัฒนธรรมของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา การดำเนินการวิจัย คือ การวิเคราะห์การบริหารจัดการการศึกษาของสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในสังคมพหุวัฒนธรรมของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล คือ 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 2) แบบสอบถามความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ โดยผู้เชี่ยวชาญในการให้ข้อมูล ประกอบด้วย 1) นักวิชาการ 2) ผู้บริหารกระทรวง ศึกษาธิการ 3) ผู้บริหารสถานศึกษา 4) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ผู้นำทางศาสนา ผู้นำชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ปกครอง รวมทั้งสิ้น 17 ท่าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า การบริหารจัดการการศึกษาของสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในชุมชนพหุวัฒนธรรมของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา สถานศึกษาควรมีการบริหารการจัดการการศึกษา ดังนี้ 1) สร้างความตระหนักต่ออัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม 2) รักษาแบบแผนวัฒนธรรม ทางวัฒนธรรม 3) เป็นองค์กรการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4) มีบรรยากาศความเป็นพหุวัฒนธรรม 5) ผู้บริหารมีภาวะผู้นำทางวัฒนธรรม 6) ครูมีคุณลักษณะที่เหมาะสมในสังคมพหุวัฒนธรรม 7) มีแหล่งเรียนรู้ทางพหุวัฒนธรรม 8) มุ่งเน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วม และ 9) มีการจัดกระบวนการเรียนรู้พหุวัฒนธรรม This research design was Ethnographic Delphi Future Research: EDFR. The research objectives was to Know the multicultural communities school administration in Koh Mueng Pranakhon Si Ayutthaya. The research was comprised of a procedures to analyze the multicultural communities school administration in Koh Mung Pranakhon Si Ayutthaya. The instruments used for data collection were semi-structured interview and an opinionnaire. The 17 experts were academicians, ministry of Education administrators, School administrators, and stakeholder including religious leaders, community leaders, committee on basic education, as well as parent. The statistics used for data analysis were median, made, interquartile range, and content analysis. The findings of this research were as follow: The multicultural communities school administration in Koh Mueng Pranakhon Si Ayutthaya consisted of a components namely; 1) The awareness of cultural identities, 2) The maintenance of cultural customs, 3) The learning organizations, 4) The multicultural atmosphere, 5) The cultural leadership, 6) Teachers characteristics in multicultural, 7) Multicultural learning resources, 8) Participative management, and 9) Multicultural learning processes.
Description: 56252901 ; สาขาวิชาการบริหารการศึกษา -- ขวัญสุดา วงษ์แหยม
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1040
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56252901 ขวัญสุดา วงษ์แหยม.pdf2.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.