Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1274
Title: THE ILLUSORY AESTHETIC OF WOMANKIND
มายาสุนทรียะแห่งสตรีเพศ
Authors: Suriwan SUTHAM
สุริวัลย์ สุธรรม
PISHNU SUPARNIMIT
พิษณุ ศุภนิมิตร
Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts
Keywords: มายา
สุนทรียะ
สตรีเพศ
ILLUSION
AESTHETICS
WOMANKIND
Issue Date:  17
Publisher: Silpakorn University
Abstract: Series Works “The Illusory aesthetics of womankind” Is a creative painting project that offers content on the beauty that womankind desire. And seek both physical and mental. It is common knowledge that the beauty of women is the same. In today's society, beauty has shifted to anxiety. By falling under the illusion of the world of social objects Under the concept of creativity. Series Works “The Illusory aesthetic of womankind” Will use media diversity information. This is very significant among women's groups. The aim of self - improvement is to equalize others in the world of objects. Similar to comforting the mental mind. The latent comes with Maya Apocalypse. The content of the womankind of the object. Bring the process thinking. Methodology, Presented in a creative way. Through 2 dimensional painting in Realistic and symbolism is used. To signify significant. Both shape, from, light and shadow. To be honest about the accuracy. Or communicate in ways, processes and methods. In the form of symbolism. To stimulate imagination that is beyond reality. The audience is aware of the myths that occur in today's world.
ผลงานวิทยานิพนธ์ชุด “มายาสุนทรียะแห่งสตรีเพศ” เป็นโครงการสร้างสรรค์จิตรกรรม ที่นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับความงามที่สตรีเพศปรารถนาและแสวงหาทั้ง ทางกายภาพภายนอกและจิตใจ นั้นเป็นเรื่องคุ้นชินว่าความงามกับสตรีนั้นเป็นของคู่กัน แต่ในสภาพสังคมปัจจุบันความงามได้แปรเปลี่ยนหน้าที่ ไปอย่างน่าวิตกกังวล โดยที่ได้รับการตกอยู่ภายใต้วังวนมายาในโลกแห่งสังคมวัตถุ ภายใต้แนวคิดในการวิจัยสร้างสรรค์ดังกล่าว ผลงานชุด “มายาสุนทรียะแห่งสตรีเพศ”  จะใช้ข้อมูลทางความหลากหลายของสื่อ ซึ่งมีความหมายเป็นอย่างมากในเหล่าของกลุ่มสตรี           ที่มุ่งหวังยกระดับ ตนเองให้ทัดเทียมผู้อื่นในโลกของวัตถุ คล้ายกับการปลอบประโลมทาง ความรู้สึกนึกคิดทางจิตใจ ที่แฝงมากับมายาคติ จนแยกไม่ออก ที่ว่าด้วย เรื่องเนื้อหาของสตรีเพศกับวัตถุ นำมาซึ่งการคิดค้นหากระบวนการ เทคนิควิธีการ น าเสนอในรูปแบบการสร้างสรรค์ ผ่านผลงานจิตรกรรม 2 มิติ ในรูปแบบเหมือนจริง (Realistic) และมีการใช้สัญลักษณ์นิยม (Symbolism) สื่อความหมายอย่างมีนัยยะสำคัญ ทั้งรูปร่างรูปทรง แสงและเงา ที่ยังต้องคำนึงถึงความถูกต้องตรงไปตรงมา หรือสื่อสารให้อยู่ ในลู่ทางกระบวนการและวิธีคิด ในรูปแบบของสัญลักษณ์นิยม   เพื่อกระตุ้นให้เกิดจินตนาการที่ดูเกินเลยจากความเป็นจริง ทำให้ผู้ชมได้เกิดสำนึกรู้ถึงมายาคติที่เกิดขึ้นในโลกปัจจุบัน
Description: Doctor of Philosophy (PH.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1274
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58007812.pdf13.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.