Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1319
Title: | ABSTRACTION IN ARCHITECTURE การศึกษาความหมายเชิงนามธรรมในงานสถาปัตยกรรม |
Authors: | Nattapong PRADISTHUM ณัฐพงษ์ ประดิษฐ์ธรรม Pimolsiri Prajongsan พิมลศิริ ประจงสาร Silpakorn University. Architecture |
Keywords: | สภาวะนามธรรม รูปธรรม(กายภาพ) การรับรู้ ABSTRACTION PHYSICAL PERCEPTION |
Issue Date: | 17 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | Abstract is the thought, opinion or text that refer to the phenomenon. Causing one event, as the substantial. Abstract is the thought process, that does not the identity of the object is real and intangible. Abstract from thoughts and emotional garnish with the spiritual sense. Understanding to the characteristics of the substantial, that arise naturally. Abstract forms, sometimes used to the events difficult to talk or difficult to understand. Must be understood by those want to communicate and listener. Therefore, the difference of the substantial and the abstract is the different. Substantial is the shape. Contrast with abstract is the idea. Creating elements of thought Into the work in a three-dimensional model represents the abstraction that occurs in the architecture. And still appear in architecture ever. Until now Whether the architectural style of any such abstraction. It is also relevant to the style of architecture in Thailand .Whether traditional or contemporary architectural Thailand have also appeared in the form of beliefs, traditions and religion to interfere in the architecture. The study of abstract meanings in architecture. To want to know the limitations of architectural design, space by concept and abstract motto. The architecture space and the intermediary in the context of the experiment. The interaction between man, architecture and the environment. The implications abstract. นามธรรม (abstract) คือ ความคิด ความเห็นหรือข้อความที่อ้างถึงปรากฏการณ์ ที่ก่อให้เกิดเหตุการณ์หนึ่งๆ ที่ออกมาเป็น รูปธรรม1 นามธรรม คือกระบวนการคิดที่ไม่ได้ก่อเกิดจากตัวตนของวัตถุนั้นจริงและไม่มีรูปร่าง นามธรรมเกิดมาจากความคิด และอารมณ์เข้าสัมผัส ปรุงแต่งด้วยจิตก่อเกิดความรู้สึก เข้าใจได้ตามลักษณะจากรูปธรรมนั้น ซึ่งเกิดขึ้นมาเองตามธรรมชาติ รูปแบบนามธรรมยากต่อการพูด หรือยากต่อการเข้าใจ ต้องเข้าใจจากทั้งผู้ที่ต้องการสื่อสาร และผู้ที่ต้องการรับสาร ดังนั้นความแตกต่างของรูปธรรมและนามธรรมคือ สิ่งที่เป็นรูปร่าง ตรงข้ามกับนามธรรมคือความคิดที่จับต้องยาก การเปลี่ยนแปลงจากรูปแบบ(รูปธรรม) สู่ความเป็นนามธรรม การสร้างองค์ประกอบของความคิด สู่การทำงานในรูปแบบสามมิติ แสดงถึง ภาวะนามธรรม(abstraction) ที่เกิดขึ้นในงานสถาปัตยกรรมในอดีต และยังคงมีปรากฏเรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นงานสถาปัตยกรรมรูปแบบใดๆ ทั้งนี้ ความเป็นนามธรรม ยังมีความเกี่ยวเนื่องกับรูปแบบของสถาปัตยกรรมไทย ไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมไทยแบบประเพณี หรือ แบบร่วมสมัย ก็ยังคงปรากฏในรูปแบบของ คติความเชื่อ เชิงสัญลักษณ์ ประเพณี และหลักศาสนา ที่สอดแทรกอยู่ในงานสถาปัตยกรรมนั้นๆ การศึกษาความหมายเชิงนามธรรมในงานสถาปัตยกรรมนั้น เพื่อต้องการรับรู้ข้อจำกัดในการออกแบบสถาปัตยกรรม และที่ว่าง(Space) ด้วยแนวความคิด และคติเชิงนามธรรม โดยมีสถาปัตยกรรม ที่ว่าง(Space) และบริบท ในการทดลอง เพื่อสร้างสถานการณ์ ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ หรือความรู้สึกร่วมกัน ระหว่าง มนุษย์ , สถาปัตยกรรม และสภาพแวดล้อม โดยนัยยะเชิงนามธรรม 1รูปธรรม คือ สิ่งที่รู้ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่สามารถสัมผัสได้ด้วยกาย. |
Description: | Master of Architecture (M.Arch) สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1319 |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58054209.pdf | 8.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.