Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1368
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJikamas SUKKASAMEen
dc.contributorจิกามาศ สุขเกษมth
dc.contributor.advisorPatteera Thienpermpoolen
dc.contributor.advisorภัทร์ธีรา เทียนเพิ่มพูลth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:38:52Z-
dc.date.available2018-12-14T02:38:52Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1368-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purpose of this research were to compare the students’ English reading skill of the first year students, Faculty of Engineering and Industrial Technology, Silpakorn University using problem-based learning and study the students’ opinions toward problem-based learning. The sample consisted of randomly selected 34 first year students, Faculty of Engineering and Industrial Technology, Silpakorn University who attended 081 103 English Skill Development course in the second semester of the academic year 2016. The instruments used for this experiment were 1) problem-based learning lesson plans; 2) an English proficiency test of English reading skill; 3) a questionnaire asking students’ opinions toward problem-based learning. The paired-sample t-test was used to analyze data in order to compare the students’ English reading skill before and after studying by using problem-based learning. The mean and standard derivation scores were used to evaluate the students’ opinions toward problem-based learning. The findings were as follows: 1)  The students’ English reading skill after studying problem-based learning was significantly higher than before at the .05 level.  2) The students’ opinions toward problem-based learning were at a good level.en
dc.description.abstract1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยใช้การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 2)เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ลงเรียนรายวิชา 081 103 English Skills Development ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน  34 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม จำนวน 1 กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง1)แผนการจัดการเรียนรู้การสอนภาษาอังกฤษโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 2)แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษามีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ t-test แบบจับคู่เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังเรียนการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการหาค่าระดับความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ผลวิจัยพบว่า 1) ทักษะอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2)  นักศึกษามีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานอยู่ในระดับดีth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectทักษะการอ่านภาษาอังกฤษth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectENGLISH READING SKILLen
dc.subjectPROBLEM-BASED LEARNINGen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDEVELOPMENT OF ENGLISH READING SKILL BY USING PROBLEM-BASED LEARNING FOR THE FIRST-YEAR STUDENTS, FACULTY OF ENGINEERING AND INDUSTRIAL TECHNOLOGY, SILPAKORN UNIVERSITYen
dc.titleการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากรth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
55254306.pdf5.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.