Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWandee CHOOCHUENen
dc.contributorวันดี ชูชื่นth
dc.contributor.advisorMattana Wangthanomsaken
dc.contributor.advisorมัทนา วังถนอมศักดิ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:39:07Z-
dc.date.available2018-12-14T02:39:07Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1459-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis research aimed to synthesize 1) the manner of the theses and 2) the knowledge from doctoral theses in educational administration, Faculty of Education, Silpakorn University.  This research is a descriptive research employing documentary study. The population were 188 doctoral theses in educational administration, Faculty of Education, Silpakorn University during the academic year of 2550 - 2558. The research instruments were recoding and coding form. The statistics employed in this study were descriptive statistics and content analysis in accordance with the strategies of the National Scheme of Education, B.E. 2560 - 2579. The results were: 1. The theses were descriptive research. The most research design used were the one-shot, non-experimental case study. The research population were basic education institutes. The most commonly used techniques to gather research sample was stratified random sampling. The most used research instrument was questionnaire, which was tested for content validity and reliability. The statistics most commonly used were descriptive statistics and multivariate statistics such as factor analysis, path analysis, and so on. The findings were commonly verified by statistics or experts with various techniques such as EFR, EDFR, connoisseurship, or questionnaire. 2. Knowledge from the synthesis of the doctoral theses is consistent with the strategies of the National Scheme of Education B.E. 2560 – 2579; which included Strategy 1: Educational management for the strength of the nation and society, Strategy 2: Development of research and innovation workforce to enhance the national competitiveness, Strategy 3: The proficiency development for people of all ages and the promotion of a lifelong learning society, Strategy 4: Creating opportunities and equality in education, Strategy 5: Educational administration to enhance the quality of an eco-friendly life, and Strategy 6: The competency development for educational administrations.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทราบ 1) ลักษณะวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต และ 2) องค์ความรู้จากการสังเคราะห์วิทยานิพนธ์ ระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นการวิจัยประเภทวิจัยเชิงบรรยาย ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร  โดยใช้วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิตเป็นหน่วยวิเคราะห์  ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้  ได้แก่ วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ตั้งแต่ปีการศึกษา 2550-2558 จำนวน 188 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบบันทึกข้อมูลวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย วิเคราะห์ประเด็นบริหารการศึกษาตามยุทธศาสตร์แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ผลการวิจัย 1. ลักษณะวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต เป็นการวิจัยประเภทเชิงพรรณนา  แผนแบบการวิจัยที่ใช้มากที่สุดได้แก่ The one-shot, non-experimental case study ประชากรส่วนใหญ่มาจากหน่วยงาน/สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการเลือกแบบมีโอกาสความน่าจะเป็น โดยเทคนิควิธี Stratified random sampling เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยวิธีตรวจสอบความตรงร่วมกับความเชื่อมั่น สถิติที่ใช้วิเคราะห์ใช้สถิติบรรยาย และสถิติวิเคราะห์พหุตัวแปรหลายวิธี อาทิ Factor analysis และ Path analysis  การยืนยันรูปแบบ/ผลการศึกษาองค์ประกอบของวิทยานิพนธ์  ใช้วิธีการยืนยันรูปแบบอย่างหลากหลายทั้งการยืนยันด้วยสถิติ และการยืนยันจากผู้เชี่ยวชาญ อาทิ Ethnographic Future Research (EFR), Ethnographic Delphi Future Research (EDFR), Connoisseurship และแบบสอบถาม   2. องค์ความรู้จากการสังเคราะห์เนื้อหาวิทยานิพนธ์ พบว่าสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ทั้ง 6 ข้อ ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้  ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม  และยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาth
dc.subjectการสังเคราะห์วิทยานิพนธ์th
dc.subjectContent analysisen
dc.subjectThesis synthesisen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleResearch Synthesis of Doctoral Thesis In Educational Administration, Silpakorn Universityen
dc.titleการสังเคราะห์วิทยานิพนธ์ ระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากรth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57252927.pdf4.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.