Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1470
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCholthida HONGHEAMen
dc.contributorชลธิดา หงษ์เหมth
dc.contributor.advisorBusaba Buasomboonen
dc.contributor.advisorบุษบา บัวสมบูรณ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:39:08Z-
dc.date.available2018-12-14T02:39:08Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1470-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purpose of pre - experimental designs were to 1) compare analytical reading ability of mathayomsuksa two students before and after learning by using SQ4R method and Mind – Mapping technique 2) study the opinions of mathayomsuksa two students towards learning by using SQ4R method and  Mind – Mapping technique. The sample of this research were 45 mathayomsuksa 2/2 students of Kongkaram school, Muang Phetchaburi, Phetchaburi province in the first semester of the academic year 2017 which is derived from a simple random sampling by means of a lottery. The duration of the experiment was 10 periods. The research instruments were lesson plans, the test of analytical reading ability, and questionnaires on student’ opinions towards learning by using SQ4R method and Mind – Mapping technique. The data were analyzed by mean, standard deviation and t-test for dependent. The results of this research were: 1. Analytical reading ability of mathayomsuksa two students after learning by using SQ4R method and Mind – Mapping technique was significantly higher than before at the .05 level. 2. The opinions of mathayomsuksa two students towards learning by using SQ4R method and Mind – Mapping technique were at high agreement level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ร่วมกับแผนที่ความคิด และ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ร่วมกับแผนที่ความคิด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนคงคาราม อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ที่เรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 45 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีการจับสลากโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม กำหนดระยะเวลาในการทดลองจำนวน 10 คาบ  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ร่วมกับแผนที่ความคิด  2) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R  ร่วมกับ แผนที่ความคิด  การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย (x̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบ ค่าทีแบบกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test for dependent) ผลการวิจัย พบว่า 1. ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ร่วมกับแผนที่ความคิดสูงกว่าก่อนจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ร่วมกับแผนที่ความคิดอยู่ในระดับเห็นด้วยมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์th
dc.subjectวิธีสอนแบบ SQ4Rth
dc.subjectแผนที่ความคิดth
dc.subjectANALYTICAL READING ABILITYen
dc.subjectSQ4R METHODen
dc.subjectMIND – MAPPING TECHNIQUEen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF ANALYTICAL READING ABILITY OF MATTHAYOMSUKSA TWO STUDENTS BY USING SQ4R METHOD AND MIND-MAPPING TECHNIQUEen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ร่วมกับแผนที่ความคิดth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57255403.pdf7.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.