Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1531
Title: | Examination of automotive paint flakes by Attenuated Total Reflectance Fourier Transform Infrared Spectroscopy (ATR-FTIR) and Color determination การตรวจพิสูจน์เศษสีของรถยนต์โดยการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Attenuated Total Reflectance Fourier Transform Infrared Spectroscopy (ATR-FTIR) และการวัดสี |
Authors: | Nannapat TIMAD นันณภัทร์ ทิมอรรถ Supachai Supalaknari ศุภชัย ศุภลักษณ์นารี Silpakorn University. Science |
Keywords: | เศษสีรถยนต์ ATR-FTIR CIE L*a*b* car's flakes ATR-FTIR CIE L*a*b* |
Issue Date: | 12 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The purpose of this study was to explore the use of Attenuated Total Reflectance Fourier Transform Infrared Spectroscopy (ATR-FTIR) technique and color measurement on spectrophotometer to diffentiate automotive paints. Thirty-three samples of automotive paint flake were collected randomly from cars of different brands. The IR spectra of all samples displayed a similar spectral profile in the mid-IR region (4000-600 cm-1). Therefore, the method use in this study may not be applicable in the discrimination of automotive paint. However, the paint samples had different color values (in CIE L*a*b* color space) as measured by the spectrophotometer in the visible region (360-800 nm). It is possible to use the color value of the paint sample to identify the vehicle as the source of the sample. การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาความแตกต่างของเศษสีรถยนต์ โดยเทคนิค Attenuated Total Reflectance Fourier Transform Infrared Spectroscopy (ATR-FTIR) และการวัดสีแบบสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ (Color Spectrophotometer) โดยตัวอย่างจะถูกสุ่มขูดหรือลอกเก็บสีจากรถยนต์หลายยี่ห้อจำนวน 33 ตัวอย่าง จากการวิเคราะห์ผลการทดลองโดยเทคนิค ATR-FTIR ที่เลขคลื่นในช่วง IR ช่วงกลาง (4000-600 cm-1) พบว่าสเปกตรัมที่แสดงถึงหมู่ฟังก์ชั่นของสาร ซึ่งเป็นส่วนประกอบของสีที่ใช้พ่นรถยนต์นั้น ในทุกตัวอย่างจะมีค่าของพีคที่ใกล้เคียงกัน ในแต่ละสีที่ได้จากยี่ห้อต่างๆ ดังนั้น วิธีนี้ใช้วิเคราะห์สีอาจจะไม่สามารถแยกความแตกต่างของสีรถยนต์ได้ อย่างไรก็ตามตัวอย่างเศษสี มีค่าความแตกต่างกันในค่าสี (ตามระบบ CIE L*a*b*) พบว่าค่าสีที่วัดได้มีความแตกต่างกันในทุกๆ ตัวอย่าง เมื่อวัดสีด้วยเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ในช่วงวิสิเบิล (360-800 nm) จึงมีความเป็นไปได้ที่จะใช้ค่าสีที่วัดได้จากเศษสีมาใช้ในการยืนยันรถยนต์ และแหล่งที่มาของรถยนต์ได้ เนื่องจากรถยนต์แต่ละคันมีการใช้งานที่ต่างกัน ดังนั้นเทคนิคการวัดสีจึงมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการตรวจวิเคราะห์เบื้องต้น และใช้ประโยชน์ทางนิติวิทยาศาสตร์ |
Description: | Master of Science (M.Sc.) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1531 |
Appears in Collections: | Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
55312316.pdf | 4.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.