Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1605
Title: | An Analysis of Bass Playing of Scott Lafaro การวิเคราะห์การบรรเลงเบสของ สก็อตต์ ลาฟาโร |
Authors: | Warin THATAN วารินทร์ ถาธัญ Saksri Vongtaradon ศักดิ์ศรี วงศ์ธราดล Silpakorn University. Music |
Keywords: | สก็อตต์ ลาฟาโร การบรรเลงเบส Scott Lafaro Bass Playing |
Issue Date: | 17 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | This qualitative research aims to study and analyze Scott Lafaro‘s performance. He was one of the most influential bassists who initiated a creative way of playing bass line that interacted with other musicians. By transcribing Scott Lafaro's performance in the album ‘ Sunday at the village vanguard ‘ by Bill Evans Trio which includes 1) Gloria’s step 2) My man has gone 3) Solar 4) Alice in wonderland 5) All of you and 6) Jade Visions, his playing clearly shows his unique approaches and excellent techniques in creating interactive bass lines.
This study explains his use of syncopation to start phrases, the use of melody as an accompaniment for improvisation, the use of repetition, and the use of double stops. Moreover, it presents Scott Lafaro’s approaches to construct melodic lines using motifs, melodic sequences, ostinatoes, triplets and playing against the beat. การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการบรรเลงเบสของสก็อต ลาฟาโร นักเบสแจ๊สที่มีความสำคัญต่อวงการดนตรีแจ๊สเป็นอย่างมาก โดยถือเป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์การเดินแนวเบสในลักษณะอิสระ มีการสื่อสารตอบสนองกับการบรรเลงจากผู้บรรเลงอื่น ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาด้วยการถอดโน้ตและวิเคราะห์ในผลงานดนตรีชุดเพลง “ซันเดย์ แอท เดอะ วิลเลจ แวนการ์ด” โดย บิล อีแวนส์ ทริโอ ประกอบด้วยทั้งหมด 6 เพลง ได้แก่ 1) Gloria’s Step 2) My Man Has Gone 3) Solar 4) Alice in Wonderland 5) All of You และ 6) Jade Visions การศึกษาการบรรเลงเบสในด้านเทคนิค พบว่า มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในการบรรเลงเบสของลาฟาโรอย่างอิสระและสร้างสรรค์ทั้งการบรรเลงแบบถามตอบ การใช้จังหวะยกของจังหวะแรกในการเริ่มต้นประโยคเพลง การบรรเลงทำนองหลักของเพลงในการช่วงบรรเลงประกอบการด้นสด การสร้างประโยคการด้นสดด้วยการซ้ำโน้ตสุดท้ายของประโยคก่อนหน้า การขยายจังหวะของทำนอง และการบรรเลงดับเบิล สตอปส์ อีกทั้งยังมีการพัฒนาทำนองจากเทคนิคอันหลากหลาย ได้แก่ การใช้โมทีฟและการซีเควนซ์ทำนอง ออสตินาโต การย้ำโน้ตเดิมในการบรรเลง การใช้การบรรเลงด้วยจังหวะสามพยางค์ (Triplet note) และการใช้จังหวะขัดกับจังหวะปกติ |
Description: | Master of Music (M.Mus) ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1605 |
Appears in Collections: | Music |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58701328.pdf | 10.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.