Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1647
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Cholpassorn SITTHIWARONGCHAI | en |
dc.contributor | ชลภัสสรณ์ สิทธิวรงค์ชัย | th |
dc.contributor.advisor | Viroj Jadesadalug | en |
dc.contributor.advisor | วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Management Sciences | en |
dc.date.accessioned | 2018-12-14T02:57:58Z | - |
dc.date.available | 2018-12-14T02:57:58Z | - |
dc.date.issued | 12/7/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1647 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (PH.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | The research aimed to 1) Investigate elderly workers management capability effect to knowledge sharing organization. 2) Investigate elderly workers management capability effect to service quality. 3) Investigate knowledge sharing organization and service quality effect to organizational performance. 4) Investigate competitive environment intensity effect to knowledge sharing organization and service quality effect to organizational performance and 5) Investigate antecedent factors which are transformational leadership and diversity management effect to elderly workers management capability. 6) Studying guidelines for appropriate, creating policy recommendations and management recommendations of elderly workers management capability. The research is mixed feature with quantitative and qualitative methodology. The sample including 293 hotel in 4 and 5 star rated hotels in Thailand. The questionnaire which was used as the tools for data collection and in-depth interview to 6 chief executive from hotel in 4 and 5 star rated hotels in Thailand that get Elderly employment Award, Labor management relation Award, Best hotel Award and Best practice elderly employment in 4 and 5 star rated hotels in Thailand, A statistic to test an assumption are confirmatory factor analysis second order. The results of hypothesis testing showed that 1) Elderly workers management capability has a direct effect to knowledge sharing organization. 2) Elderly workers management capability has a direct effect to service quality. 3) Knowledge sharing organization and service quality has a direct effect to organizational performance. 4) Competitive environment intensity did not moderate among knowledge sharing organization, service quality and organizational performance and 5) Transformational leadership and diversity management has a direct effect to elderly workers management capability. The research results showed that the model base on assumption were in harmony with the empirical data by chi-square equals to 93.89, p-value of chi-square equal to 0.9, chi-square to the degrees of freedom equals to 0.72, CFI equals to 0.95, GFI equals to 0.95, AGFI equals to 0.96 and RMSEA equals to 0.00. 6) Elderly workers management capability were affecting to organizational performance and creating share value, integrated economy value and social value affecting to sustainable organizational performance. A benefit for the research will explain the casual relationship and effect elderly workers management capability including social identity Theory, resource base view theory and contingency theory. Which a benefit organization of elderly workers management capability were integration between man power planning and human resource management. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ทดสอบสาเหตุ และผลลัพธ์ของความสามารถในการจัดการแรงงานผู้สูงอายุของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย โดยวัตถุประสงค์ย่อยดังนี้ 1) เพื่อทดสอบอิทธิพลความสามารถใน การจัดการแรงงานผู้สูงอายุที่มีต่อการแบ่งปันความรู้ขององค์การ 2) เพื่อทดสอบอิทธิพลความสามารถใน การจัดการแรงงานผู้สูงอายุที่มีคุณภาพการให้บริการ 3) เพื่อทดสอบอิทธิพลการแบ่งปันความรู้ขององค์การ และคุณภาพการให้บริการ ที่มีต่อผลการดำเนินงานขององค์การ 4) เพื่อทดสอบอิทธิพลความรุนแรงของสภาพแวดล้อมทางการแข่งขัน ที่มีต่อการแบ่งปันความรู้ขององค์การและคุณภาพการให้บริการ ที่มีต่อผลการดำเนินงานขององค์การ 5) เพื่อทดสอบอิทธิพลภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และการจัดการความหลากหลายที่มีต่อความสามารถในการจัดการแรงงานผู้สูงอายุ (6) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนา รวมทั้งสร้างข้อเสนอเชิงนโยบายและข้อเสนอเชิง การจัดการของความสามารถในการจัดการแรงงานผู้สูงอายุ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างวิจัยเชิงปริมาณและวิจัยเชิงคุณภาพ ในการวิจัยเชิงปริมาณเพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ด้วยแบบสอบถามกับผู้บริหารระดับสูงของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย จำนวน 293 คน และวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีปรากฏการณ์วิทยา จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้บริหารระดับสูงของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย ที่ได้รับรางวัลการส่งเสริมการจ้างงานพนักงานเกษียณอายุ รางวัลการจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์ รางวัลโรงแรมดีเด่น และโรงแรมที่มีแนวการดำเนินงานด้านการจัดการแรงงานผู้สูงอายุในธุรกิจโรงแรมที่โดดเด่น จำนวน 6 ท่าน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน 2 อันดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการจัดการแรงงานผู้สูงอายุมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการแบ่งปันความรู้ขององค์การ 2) ความสามารถในการจัดการแรงงานผู้สูงอายุมีอิทธิพลเชิงบวกต่อคุณภาพการให้บริการ 3) การแบ่งปันความรู้ขององค์การ และคุณภาพการให้บริการมีอิทธิพลเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานขององค์การ 4) ความรุนแรงของสภาพแวดล้อมทางการแข่งขัน มีอิทธิพลต่อการแบ่งปันความรู้ขององค์การ คุณภาพการให้บริการ และผลการดำเนินงานขององค์การ 5) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และการจัดการความหลากหลายมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความสามารถในการจัดการแรงงานผู้สูงอายุ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า โมเดลตามสมมติฐานความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์นั้นผ่านเกณฑ์ โดยค่าไค-สแควร์ เท่ากับ 93.89 p-value ของค่าไค-สแควร์ เท่ากับ 0.9 ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์เท่ากับ 0.72 ค่า CFI เท่ากับ 0.95 ค่า GFI เท่ากับ 0.95 ค่า AGFI เท่ากับ 0.96 และค่า RMSEA เท่ากับ 0.00 6) ความสามารถในการจัดการแรงงานผู้สูงอายุส่งผลต่อการดำเนินงานที่ดีขององค์การ และนำไปสู่การสร้างคุณค่าร่วม ซึ่งเกิดจากการบูรณาการระหว่างคุณค่าทางเศรษฐกิจขององค์การและคุณค่าทางสังคมร่วมกัน ส่งผลให้เกิดผลการดำเนินงานขององค์การที่ยั่งยืน ประโยชน์จากการวิจัยนี้ สามารถอธิบายความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ของความสามารถในการจัดการแรงงานผู้สูงอายุที่ประกอบด้วยทฤษฎีหลัก ได้แก่ ทฤษฎีอัตลักษณ์ทางสังคม ทฤษฎีมุมมองบนพื้นฐานทรัพยากรมนุษย์ และทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์ ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลในการบริหารจัดการความสามารถในการจัดการแรงงานผู้สูงอายุที่มาจากการบูรณาการวางแผนกำลังคน และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ขององค์การเข้าด้วยกัน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ความสามามารถในการจัดการแรงงานผู้สูงอายุ / ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง / การจัดการ ความหลากหลาย / การแบ่งปันความรู้ขององค์การ / คุณภาพการให้บริการ / ผลการดำเนินงานขององค์การ | th |
dc.subject | ELDERLY WORKERS MANAGEMENT CAPABILITY / TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP / DIVERSITY MANAGEMENT / KNOWLEDGE SHARING ORGANIZATIONAL / SERVICE QUALITY / ORGANIZATIONAL PERFORMANCE | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.title | THE CAUSAL RELATIONSHIP AND EFFECT Of STRATEGIC INNOVATION MANAGEMENT : AN EMPIRICAL EVIDENCE OF PRIVATE HOSPITAL | en |
dc.title | ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ในการจัดการนวัตกรรมเชิงกลยุทธ์ : หลักฐานเชิงประจักษ์ของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Management Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57604928.pdf | 7.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.