Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1808
Title: The aesthetic of the destroyed cliffs
ความงดงามของผาหินที่ถูกทำลาย
Authors: Jakkee KONGKAEW
จักรี คงแก้ว
PISHNU SUPARNIMIT
พิษณุ ศุภนิมิตร
Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts
Keywords: หน้าผา
หินผา
ภาพพิมพ์แกะไม้
mountainous terrain
rock
cliff
woodcut technique
Issue Date:  12
Publisher: Silpakorn University
Abstract: The image of the rock is visible in all areas with mountainous terrain. Shows that the quarrying industry for use in construction. The demand for higher economic growth to accommodate the population increase. The stone has been used as a building block in the construction of housing, roads, bridges, dams, railways Harbor Airport, making use of stone in construction has increased. We can see from the image of the rock is visible in many areas of the country where the rock is broken, we will see the beauty that happens. But the beauty is emerging that it may not replace the feeling and appreciating the beauty of nature that was there originally. The beauty of nature is still a great above all things. Bring a creative thesis through the process woodcuts to convey the essence of the idea. Attitude and emotion inside my soul
ภาพของหน้าผาหินปรากฏให้เห็นในทุกพื้นที่ที่มีภูมิประเทศเป็นภูเขา ซึ่งเดิมเป็นสภาพของธรรมชาติที่แท้จริง  แต่ปัจจุบันได้ถูกมนุษย์รุกราน ด้วยการนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ส่วนตน และรุนแรงขึ้นเมื่อมนุษย์มีความต้องการมากขึ้น มีการนำไปใช้ในระบบอุตสาหกรรมการระเบิดหินเพื่อนำมาใช้ในการก่อสร้าง มีความต้องการสูงขึ้นตามความเติบโตของเศรษฐกิจเพื่อรองรับกับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น เป็นการนำหินไปใช้ในงานก่อสร้าง เช่น อาคารตึกที่อยู่อาศัย เขื่อน ทางรถไฟ ท่าเรือ ถนน สะพาน สนามบิน ทำให้ความต้องการใช้หินในการก่อสร้างมีมากขึ้น จะเห็นได้จากภาพของหน้าผาหินที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศแต่หลังจากผาหินถูกทำลายลงเราจะพบเห็นถึงความงามที่เกิดขึ้น แต่ความงามที่เกิดขึ้นมาใหม่แม้จะไม่อาจแทนที่ความรู้สึกและคุณค่าความสวยงามของธรรมชาติที่มีมาแต่เดิมได้แต่ด้วยความยิ่งใหญ่ของธรรมชาติย่อมอยู่เหนือการทำลายของมนุษย์  ข้าพเจ้าสร้างสรรค์เป็นงานวิทยานิพนธ์โดยผ่านกระบวนการภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut) เพื่อใช้สื่อในการแสดงออกให้เห็นถึงสาระจากความคิด ที่ถ่ายทอดเป็นความแข็งแกร่งของหินและความเป็นธรรมชาติอารมณ์ความรู้สึกภายในจิตใจ
Description: Master of Fine Arts (M.F.A.)
ศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1808
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57003201.pdf10.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.