Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1825
Title: wandering
การผจญภัยแห่งจิต
Authors: Varakorn THONGCHAIKAWSAARD
วรกร ธงชัยขาวสอาด
PISHNU SUPARNIMIT
พิษณุ ศุภนิมิตร
Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts
Keywords: ศิลปนามธรรม
การผจญภัยแห่งจิต
wandreing
subconsciousness
sufferings
Issue Date:  2
Publisher: Silpakorn University
Abstract: This thesis aimed to study the relationship between body and mind and the process of creating art.  It is believed that art helps healing mental illness and has been proved to be true worldwide. Because of suffering from physical illness and anxiety, the Creative Researcher decided to start studying creative art. The researcher became healthier from the beginning so the researcher would like to perform an experiment in order to reduce sufferings and make creative art visible.   The study of creative process began with studying Sigmund Freud’s Psychoanalytic theory, Carl Gustav Jung’s theory and Jean-Paul Sartre’s Existentialism in order to understand personal psychic phenomena. Expressionism art and Abstract art of Fabienne Verdier, Tony Orrico and William Anastasi were also chosen to study. Then, the Creative Researcher began creating an own work of art conveying real emotions and feelings through an Abstract art.               The results of the research and art creation revealed that apart from coordination between art and mind, the Creative process can also disclose the state of real subconsciousness. Lines created from drawing, strokes and rapid writing from stream of consciousness can be obviously compared to the theory of Psychoanalytic. According to Sigmund Freud’s model of the psyche, the Creative Researcher’s lines can be classified into three elements of personality – known as id, the ego and the superego. In addition, they indicate the sequence of visual elements showing in each phase of physical and mental illness.
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ตั้งเป้าหมายจะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกายกับจิตและกระบวนการสร้างสรรค์งานศิลปะ   ดังที่กล่าวกันเสมอๆว่าศิลปะมีส่วนช่วยในการรักษาจิตใจและได้ทำการพิสูจน์ในหลากหลายรูปแบบทั่วโลก ผู้วิจัยสร้างสรรค์มีความเจ็บป่วยทางร่างกายเป็นปฐมเหตุและทำให้มีความกังวลใจเป็นนิจศีลการสร้างสรรค์งานศิลปะนับตั้งแต่ได้เริ่มต้นศึกษามีส่วนทำให้รู้สึกว่าตนเองดีขึ้น  จึงมีความประสงค์จะทำการทดลองเพื่อลดทุกข์และเห็นผลงานศิลปะเป็นรูปธรรม วิธีการศึกษาวิจัยกระบวนการสร้างสรรค์เริ่มต้นด้วยการศึกษาหลักจิตวิเคราะห์แบบซิกมันด์  ฟรอยด์, คาร์ล จุงและปรัชญาอัตถิภาวนิยมของฌอง ปอล ซาร์ต เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์ทางจิตแบบส่วนบุคคล ศึกษากระบวนการสร้างสรรค์ศิลปะโดยเฉพาะอย่างยิ่งศิลปินที่ทำงานในลักษณะฉับพลันและเป็นแนวทางแบบนามธรรม เช่น ฟาเบียง แวร์ดิเยร์,  โทนี ออริโคและ วิลเลียม อนาสตาซี  จากนั้นได้ทำการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของตนเองโดยการถ่ายทอดอารมณ์และความรู้สึกออกมาตามความเป็นจริง ด้วยกระบวนการศิลปะนามแบบธรรมฉับพลันอย่างเป็นธรรมชาติ   ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยและสร้างสรรค์ทำให้เห็นข้อสรุปใหม่มากกว่าศิลปะกับจิตใจทำงานสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน  ที่เพิ่มเติมมาก็คือกระบวนการสร้างสรรค์งานศิลปะสามารถเผยสภาพของสภาวะจิตใต้สำนึกที่แท้จริงได้ ลักษณะของเส้นที่ปรากฏออกมาด้วยการวาด ลาก ขีด เขียนอย่างฉับพลันตามกระแสสำนึกสามารถเทียบเคียงเข้ากับหลักทฤษฎีของจิตวิเคราะห์ได้อย่างชัดเจน ในแง่มุมของซิกมันด์ ฟรอยด์ การลากเส้นของผู้วิจัยสร้างสรรค์สามารถเทียบเคียงเข้ากับการแบ่งลำดับชั้นของจิตเป็นอิด, อีโก้และซูเปอร์อีโก้ได้ นอกจากนี้ยังสามารถบ่งชี้ให้เห็นเป็นลำดับขั้นตอนขององค์ประกอบทางทัศนธาตุที่แสดงออกมาในแต่ละช่วงเวลาของการเจ็บป่วยทั้งทางร่างกายและความกังวลใจ
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1825
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57007805.pdf14.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.