Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1879
Title: THE STUDY OF TAI-YWN'S IDENTITY AT AMPHOR SIKHIO INTO TOURISM SUPPORT MEDIA DESIGN
การศึกษาอัตลักษณ์วิถีชุมชนไท-ยวนสีคิ้ว เพื่อออกแบบสื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
Authors: Pirapat PLIWJANTUK
ภิรพรรษ ปลิวจันทึก
PHUVANAT RATTANARUNGSIKUL
ภูวนาท รัตนรังสิกุล
Silpakorn University. Decorative Arts
Keywords: ระยึก ระยือ
Ra-Yeuk Ra-Yeu
Issue Date:  2
Publisher: Silpakorn University
Abstract: The purpose of this study was to examine the identity and ethnicity of the Tai-Ywn’s Sikhio Community in terms of daily living, local wisdom and the community-based tourism. This study was based on the conceptual frameworks as follows: the community identity and ethnicity, tourism in the Tai-Ywn’s Sikhio Community and the impacts of globalization on the community. The data collection of this qualitative study consisted of participatory observations, general interviews and in-depth interviews which were conducted among local residents. The results are as follows: Even though the general characteristics of the Tai-Ywn’s Sikhio Community are similar those of other Tai-Yuan Communities in Thailand, after in-detail comparison, the researcher has found  some unique characteristics of the Tai-Ywn’s Sikhio Community including cloth weaving with trigger spinning techniques, the tradition of making merit in the middle of the house and the local dialect, for example: the local phrase of  “Ra-Yeuk, Ra-Yeu”  which is taken to be an important phrase in  the media designing to promote cultural tourism in the community.   The designs result in 3 types of tourism promotion media as follows: 1. Tourism and products promotion media for encouraging passer-by tourists to buy products in the community market organized once a month. 2. Social media for publicizing and auctioning good quality fabric of the weavers in the village as a special activity. 3. Overnight tourism promotion media for encouraging tourists to participate in merit making in the middle of the house,  and  the products to create impressions for tourists, including information boards, costumes and various souvenirs.
การศึกษาเรื่อง อัตลักษณ์บ้านไท–ยวนสีคิ้ว มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตลักษณ์และความเป็นชาติพันธุ์ของผู้คนไท-ยวนสีคิ้ว ทั้งชีวิตประจำและเป็นและความเป็นอยู่ตลอดจนภูมิปัญญา และบริบทของการท่องเที่ยววิถีชุมชนการศึกษาครั้งนี้ใช้กรอบแนวคิดเรื่องอัตลักษณ์และความเป็นชาติพันธุ์ รวมทั้งการพิจารณา กิจกรรมการท่องเที่ยวของบ้านไท-ยวนสีคิ้ว ในทุกด้านและคำนึงถึงปรากฏการณ์โลกาภิวัตน์ด้วย การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพในการเก็บข้อมูล โดยมีวิธีการสำคัญคือ การสังเกตการณ์ การสัมภาษณ์ทั่วไป และการสัมภาษณ์เจาะลึกโดยเฉพาะกับคนในท้องถิ่น ผลการศึกษาว่า แม้คุณลักษณะทั่วไปของชุมชนไท-ยวนในอำเภอสีคิ้วจะ มีความคล้ายคลึง กับกลุ่มไท-ยวนในจังหวัดอื่น ๆ ของไทย แต่ผู้วิจัยใช้วิธีทำตารางเปรียบเทียบรายละเอียดจึงได้ข้อสรุปอัตลักษณ์ที่แตกต่างได้แก่ การทอผ้าด้วยเทคนิคการปั่นไก ประเพณีทำบุญกลางบ้าน และภาษาถิ่นที่เลือนไหลไปตามกาลเวลา โดยได้ยกคำภาษาถิ่น “ระยึก ระยือ” มาเป็นคำคัญในการออกแบบสื่อเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชชุมชน ผลการออกแบบจัดกลุ่มกิจกรรมเป็น 3 ช่วงเวลาใหญ่ได้แก่ 1.สื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและสินค้าสำหรับนักท่องเที่ยวประเภทผ่านทางเพื่อซื้อหาสินค้าในตลาดวิถีชุมชนซึ่งจัดเดือนละครั้ง 2.สื่อโซเซียลมีเดีย สำหรับประชาสัมพันธ์และจัดประมูลผ้าคุณภาพดีของช่างทอผ้าในหมู่บ้าน ซึ่งจัด เป็นกิจกรรมพิเศษ 3.สื่อส่งเสริมประเภทการท่องเที่ยวแบบค้างคืน เพื่อร่วมงานทำบุญกลางบ้านรวมถึงผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างความประทับใจแก่นักท่องเที่ยว ได้แก่ ป้ายข้อมูลการให้บริการ ชุดแต่งกาย และสินค้าที่ระลึกต่างๆ
Description: Master of Fine Arts (M.F.A.)
ศิลปมหาบัณฑิต (ศ.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1879
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58156333.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.