Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/195
Title: การศึกษาความแตกต่างการบันทึกบัญชี SME ตามมาตรฐานบัญชีกับประมวลรัษฎากร
Other Titles: THE STUDY OF DIFFERENCES OF SME ACCOUNTING ENTRY UNDER ACCOUNTING STANDARD OF REVENUE CODE
Authors: นิลเปลี่ยน, ยุวะลี
NINPLEAN, YUVALEE
Keywords: มาตรฐานบัญชี
ประมวลรัษฎากร
วิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง
ACCOUNTING ENTRY
REVENUE CODE
SMALL AND MEDIUM ENTERPRISES
Issue Date: 5-Aug-2559
Publisher: มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) ศึกษาความเข้าใจในการจัดทาบัญชีของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางที่จัดตั้งรูปแบบบริษัทตามมาตรฐานบัญชี 2) ศึกษาความเข้าใจในการจัดทาบัญชีของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางที่จัดตั้งรูปแบบบริษัทตามประมวลรัษฎากร 3) วิเคราะห์ความแตกต่างในการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานบัญชีและประมวลรัษฎากร 4) สังเคราะห์ความเหมาะสม รูปแบบ และหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมในการปรับปรุงกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการภาษีเงินได้นิติบุคคลของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง ผลการวิจัยพบว่า ผู้ทาบัญชีส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง คิดเป็นร้อยละ 52 มีอายุ31-35ปีคิดเป็นร้อยละ 39.3 การศึกษาของผู้ทาบัญชี เป็นระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 61.8 ระยะเวลาการดาเนินงานของกิจการส่วนใหญ่ มีระยะเวลาต่ากว่า 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 51.8 ประเภทของกิจการเป็นธุรกิจบริการ คิดเป็นร้อยละ 46.5 ข้อมูลทางการบัญชีที่ให้ความสาคัญมากทีสุดคือ ด้านรายได้ คิดเป็นร้อย 65.5 กิจการจัดทาบัญชีโดย ใช้สานักงานบัญชีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50.5 ด้านการบันทึกสินทรัพย์ จากการสารวจกลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับการบันทึกแบบมาตรฐานทางบัญชี และสามารถนาไปหักค่าเสื่อมราคาได้ การคิดต้นทุนทั้งหมดของทรัพย์สินที่ไม่ได้ใช้งาน กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับการบันทึกแบบมาตรฐานทางบัญชีโดยให้หยุดคิดค่าเสื่อมราคา ด้านการบันทึกรายได้ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับการบันทึกแบบมาตรฐานทางบัญชีบันทึกทั้งจานวน โดยบันทึกรายได้จากการขายสินค้าและบริการตามสัดส่วนระยะเวลาที่ให้บริการ และ ตามสัดส่วนของงานที่เสร็จ แต่กลุ่มตัวอย่างเห็นว่ากิจการควรบันทึกเงินค่าภาษีอากรหรืออกแทนเครดิตภาษีตามแบบประมวลรัษฎากร ด้านการบันทึกค่าใช้จ่ายเรื่องประโยชน์ทางเศรษฐกิจลดลง กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับการบันทึกแบบมาตรฐานทางบัญชีบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย การบันทึกค่าใช้จ่ายตามที่เกิดขึ้นจริง การบันทึกรายจ่ายต้องห้าม ที่ไม่สามารถนามาหักค่าใช้จ่ายได้ทั้งจานวนและค่าใช้จ่ายที่มีเงื่อนไขในการหักค่าใช้จ่ายที่มีเงื่อนไข กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการบันทึกแบบมาตรฐานทางบัญชีบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจานวน The objectives of this research are; 1) to understand accounting entry of Small and Medium Enterprises (SMEs) under accounting standard, 2) to understand accounting entry of SMEs under the Revenue Code of Thailand, 3) to analyze the differences of accounting records under accounting standard and under Revenue Code of Thailand, 4) to synthesize form and conditions that are suitable to revise the law in respect to the corporate income tax of SMEs. Synthetic appropriate forms and guidelines appropriate to revise the law in respect to the income tax of enterprises, small and medium enterprises. The results showed this according to the study, the number and percentage of samples of a bookkeeper by privacy conclusion. Bookkeeper, mostly is women 52 % between the ages of 31-35 years old, accounted for 39.3 % of the bookkeeper undergraduate 61.8 %. During the operation of the business ,a period of less than five years old accounted for 51.8 %. Office Accounting 50.5 % recorded assets recognition of property, plant, equipment costs are expected to be used to benefit in the future, and the provision of the demolition, removal and restoration costs as assets. The survey population is opposed to the recording of accounting standards is capitalized, and can not be depreciated. The total cost of the property is not in use, most agree to stop recording standard accounting depreciation. Saving money is found increasing the value of assets ,and paid with tax payers or the tax credit. Most agreed with the recording revenue recognized as revenue. Revenue from sales of goods and services in proportion to the length of service and income from sales of goods and services as a proportion of the work is done largely agreed with the accounting standard for recording a record amount. To save costs, the economic decline largely agreed with the accounting standard for recording, recorded as expenses. To save costs, the actual recorded expense prohibitive, not deductible expenses include the number and cost in terms of expenses, provided that a majority agreed with the recording of accounting records is the cost amount
Description: 57602408 ; หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต -- ยุวะลี นิลเปลี่ยน
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/195
Appears in Collections:Management Sciences



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.