Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2030
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKamonrat PITITANANen
dc.contributorกมลรัตน์ ปิติทานันท์th
dc.contributor.advisorTHIRAWAT CHANTUKen
dc.contributor.advisorธีระวัฒน์ จันทึกth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2019-08-07T03:25:11Z-
dc.date.available2019-08-07T03:25:11Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2030-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThis research is objected to identify causal relationship between factors which affected working happiness and to identify the accordance between the structure of the causal relationship among the   factors which affected working happiness of commercial bank employees in Samut Sakhon province and empirical data. The Sample group of this research are 204 commercial bank employees in Samut Sakhon province specified by Non-probability sampling and Purposive sampling method, which the sample group are commercial bank employees with over 1 year experience in officer, assistant manager and manager level in 46 branches, using questionnaire as a research instrument. This questionnaire has been checked for IOC which equal to 0.67–1.00 and check for reliability which excess 0.7. Regarding to analyzing data, the descriptive statistics such as frequency, percentage, mean and standard deviation has been used and the inferential statistics such as confirmatory factor analysis and structural equation modeling has been used. The result of this research found that overall bank employees have high level of working happiness. In addition, the analysis of causal relationship structure of factors which affect bank employees’ working happiness in Samut Sakhon found that Chi-Square is 92.87 which has statistical significance at p-value of 0.36, Relative Chi-Square of 1.04, Comparative Fit Index (CFI) of 1.00, Goodness of Fit Index (GFI) of 0.95, Adjust Goodness of Fit Index (AGFI) of 0.95 and Root Mean Square of Error Approximation (RMSEA) of 0.01, which all of them passed the criteria. In consideration of bank employees’ working happiness, the final result of this model found that the happiness will be highly obtained by supervisor leadership.  en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสุขในการทํางานและเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องและเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทํางานของพนักงานธนาคารพาณิชย์ในจังหวัดสมุทรสาคร กับข้อมูลเชิงประจักษ์  กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานธนาคารพาณิชย์ ในจังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 204 คน โดยใช้วิธีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบไม่คำนึงถึงความน่าจะเป็น โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยเป็นพนักงานธนาคารพาณิชย์ในจังหวัดสมุทรสาครที่มีอายุงานตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไป และตำแหน่งงานเป็น เจ้าหน้าที่ ผู้ช่วยผู้จัดการ และผู้จัดการ จำนวน 46 สาขา ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย โดยมีการนำแบบสอบถามไปตรวจสอบค่า IOC ได้ค่าเท่ากับ 0.67-1.00 และตรวจสอบค่าความเชื่อมั่นได้ค่าเกินกว่า 0.91 สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยใช้สถิติพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและการตัวแบบสมการโครงสร้าง(SEM) ผลการวิจัย พบว่า ความสุขในการทำงานของพนักงานธนาคาร โดยรวมอยู่ในระดับมาก และจากการวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งต่อความสุขในการทำงานของพนักงานธนาคารพาณิชย์ในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่าค่าไค-สแควร์ มีค่า 92.87 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p-value = 0.36 ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ = 1.04 ค่าดัชนีวัดความสอดคล้องกลมกลืนเชิงสัมพัทธ์ (CFI) = 1.00 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI)= 0.95 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) = 0.95 และค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองของการประมาณ (RMSEA) = 0.01 ซึ่งผ่านเกณฑ์ทุกค่า เมื่อพิจารณาความสุขในการทำงานของพนักงานธนาคาร ซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้ายของโมเดล พบว่า ความสุขในการทำงานของพนักงานธนาคาร ได้รับอิทธิพลรวมสูงสุดจาก ภาวะผู้นำของหัวหน้างานth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความสัมพันธ์เชิงสาเหตุth
dc.subjectปัจจัยth
dc.subjectความสุขในการทำงานth
dc.subjectCAUSAL RELATIONSHIPen
dc.subjectFACTORSen
dc.subjectWORKPLACE HAPPINESSen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Causal Relationship of the Factors Effected Workplace Happiness for Commercial Bank’s Officers in Samutsakhonen
dc.titleความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งต่อความสุขในการทำงานของพนักงานธนาคารพาณิชย์ในจังหวัดสมุทรสาครth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59602332.pdf3.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.