Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanyathorn THONGRIEWen
dc.contributorธัณญธรณ์ ทองริ้วth
dc.contributor.advisorCHOOSAK PORNSINGen
dc.contributor.advisorชูศักดิ์ พรสิงห์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Engineering and Industrial Technologyen
dc.date.accessioned2019-08-07T03:31:57Z-
dc.date.available2019-08-07T03:31:57Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2107-
dc.descriptionMaster of Engineering (M.Eng.)en
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม)th
dc.description.abstractThe container loading problem is a common problem for many other distribution companies. The problem at hand of using pallet loading is the limit of height of the many containers. Currently, the container loading is depended on personal skill and experience by an employee to arrange pallets in the container. In this research, we aim to develop the computer method and implement the space utilization and heuristic method for container loading. 1) develop the computer programming for container loading of pallets based on an appropriate heuristic and implement the algorithm in the program. 2) to compare the developed algorithm with manual practice. The scope of the pallets loading algorithm comprised of the following: pallets are 7 types that differ in height to packing into 40 ft container with high cube dimension; The stacking of pallet cannot be exceeded 3 layers and the total of stacking height cannot be exceeded the height limit of the container. The results of this study showed that the container loading pattern that we input to the computer program could calculate accurately. The algorithm program could reduce the number of containers by 10% and utilize the volume of containers by 8.33% on average.en
dc.description.abstractปัญหาการจัดเรียงสินค้าลงในตู้สินค้านั้นเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับบริษัทที่เป็นผู้กระจายสินค้า โดยปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากข้อจำกัดที่ถูกนำมาใช้กับพาเลท (Pallet) คือ ข้อจำกัดด้านความสูงรวมของการซ้อนพาเลทต้องไม่เกินพิกัดความสูงของตู้สินค้าด้วยเช่นกัน ในปัจจุบันพบว่าการจัดเรียงสินค้าลงในตู้สินค้าส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับความชำนาญและอาศัยประสบการณ์ของพนักงานในการแก้ปัญหาตามสถาณการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละครั้งที่ทำการบรรจุสินค้าลงในตู้สินค้า โดยไม่สามารถรู้ได้ว่าในแต่ละครั้งที่มีการจัดเรียงสินค้าในตู้สินค้านั้นเป็นวิธีที่เหมาะที่สุด โดยปราศจากเครื่องมือในวิเคราะห์การจัดเรียงสินค้า ดังนั้นงานวิจัยฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์คือ 1) พัฒนาวิธีการทางคอมพิวเตอร์โดยใช้วิธีการทางฮิวริสติกมาช่วยในการจัดเรียงและบรรจุสินค้าสำเร็จรูปลงตู้สินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถใช้พื้นที่ภายในตู้สินค้าได้อย่างคุ้มค่า ลดจำนวนตู้สินค้ารวมทั้งลดเวลาในการจัดเรียงสินค้า และเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ 2) เปรียบเทียบวิธีการจัดเรียงสินค้าโดยอ้างอิงจากข้อมูลจากการปฏิบัติงานจริงกับวิธีการทางคอมพิวเตอร์ โดยมุ่งเน้นศึกษาการจัดเรียงพาเลทที่มีขนาดความกว้าง ความยาวเท่ากัน และมีความสูงที่แตกต่างกัน 7 แบบ ลงในตู้สินค้าที่มีขนาด 40 ฟุต ชนิด High Cube เท่านั้น โดยรูปแบบการจัดเรียงในตู้สินค้านั้น พาเลทจะซ้อนไม่เกิน 3 ชั้น และความสูงรวมการซ้อน ต้องไม่เกินความสูงภายในตู้สินค้า ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบการจัดเรียงสินค้าด้วยวิธีการทางคอมพิวเตอร์สามารถจัดเรียงสินค้าได้ถูกต้องแม่นยำ ประมวลผลเร็วกว่าการจัดเรียงแบบใช้ความชำนาญของพนักงาน อีกทั้งยังสามารถลดจำนวนการใช้ตู้สินค้าได้ถึงร้อยละ 10 และเพิ่มการใช้พื้นที่ตู้สินค้าได้มากกว่าเดิมโดยเฉลี่ยร้อยละ 8.33th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectวิธีการทางฮิวริสติกth
dc.subjectปัญหาการจัดเรียงสินค้าลงตู้สินค้าth
dc.subjectA heuristic methoden
dc.subjectA Container Loading Problemen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.titleA Heuristic Method for a Container Loading Problemen
dc.titleวิธีการทางฮิวริสติกสำหรับปัญหาการจัดเรียงสินค้าลงตู้สินค้าth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Engineering and Industrial Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60405304.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.