Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/213
Title: การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องการหาพื้นที่ โดยใช้กระดานตะปูร่วมกับ การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ในระดับประถมศึกษา ปีที่ 4 โรงเรียนสว่างวิทยา
Other Titles: THE DEVELOPMENT OF MATHEMATIC ACHIEVEMENT ON AREAS USING GEOBOARD AND INQUIRY CYCLE (5E) FOR PRATHOMSUKSA 4 OF SAWANGWITTAYA SCHOOL
Authors: นุชทองม่วง, จิรภา
Nuchthongmuang, Jirapa
Keywords: การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)
การหาพื้นที่
กระดานตะปู
AREAS
INQUIRY CYCLE
GEOBOARD
Issue Date: 21-Jul-2559
Publisher: มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract: งานวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการหาพื้นที่ และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสว่างวิทยา ปีการศึกษา 2559 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการหาพื้นที่ โดยใช้กระดานตะปูร่วมกับ การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) , แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ การทดสอบค่าที t-test for dependent sample และ t-test one group ผลการวิจัยพบว่า 1 แผนการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง พื้นที่ ชั้นประถมศึกษาปีที่4 โดยใช้กระดานตะปู ร่วมกับ การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยภาพรวมมีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.83/70.67 ซึ่งสูงกว่ามาตรฐานที่ตั้งไว้ 70/70 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนตามแผน สูงกว่า ก่อนเรียน และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนดไว้ อย่างมีนัยสำคัญที่ .05 3 ภาพรวมความพึงพอใจของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนตามแผน มีคะแนนเฉลี่ย 4.34 ซึ่งอยู่ในระดับมาก The purpose of this research was to development of mathematic achievement on areas and satisfaction of the students. The subjects were the prathomsuksa 4 in 2016 acadamic year from sawangwittaya school. They are selected through purposive sampling 30 students. The research instruments were the geoboard and inquiry cycle (5E) learning package, the form of mathematic achievement test and the form of mathematic learning satisfaction test. The Analytic statistic were pair t test for compare before and after learning and t test one group for compare with standard value. The result were 1 The geoboard and inquiry cycle (5E) learning package for prathomsuksa 4, the efficiency of the overall was 86.83/70.67, which was higher than the 70/70 standard. 2 The mathematic achievement of the students after trial was higher than before trial and higher than criterion of 70 percent at the .05 level of significantly. 3 The satisfaction of the students have been learning plan. The average score is 4.34, which is at the highest level.
Description: 57316321 ; สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา -- จิรภา นุชทองม่วง
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/213
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57316321.pdf4.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.