Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/224
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเลิศยิ่งยศ, ศิริพร-
dc.contributor.authorLoetyingyot, Siriporn-
dc.date.accessioned2017-08-25T16:12:54Z-
dc.date.available2017-08-25T16:12:54Z-
dc.date.issued2558-11-12-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/224-
dc.description55604808 ; สาขาวิชาการจัดการ -- ศิริพร เลิศยิ่งยศen_US
dc.description.abstractการจัดการโลจิสติกส์สีเขียว สามารถนำมาใช้ปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมโลจิสติกส์ควบคู่กับการรักษาสิ่งแวดล้อม การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบความสามารถการจัดการโลจิสติกส์สีเขียวที่มีต่อปัจจัย ผลลัพธ์ ได้แก่ การตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย และผลการดำเนินงานของธุรกิจ โดยมีปัจจัยแทรก คือ ความผันผวนของสภาพแวดล้อม และตรวจสอบปัจจัยสาเหตุ ได้แก่ วิสัยทัศน์ของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความตระหนักถึงคุณค่าทางสังคม ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียที่มีต่อความสามารถการจัดการโลจิสติกส์สีเขียว งานวิจัยนี้เป็นแบบผสานวิธี โดยใช้วิจัยเชิงปริมาณเพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ และวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีปรากฎการณ์วิทยา ใช้เครื่องมือวิจัยเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามกับผู้บริหารธุรกิจอุตสาหกรรมกระดาษในประเทศไทย 194 บริษัท และสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้บริหารธุรกิจอุตสาหกรรมกระดาษในประเทศไทยที่ได้รับรางวัลทางด้านคุณภาพและสิ่งแวดล้อม สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า 1) ความสามารถการจัดการโลจิสติกส์สีเขียว ด้านการสร้างปณิธานร่วมกันด้านอุตสาหกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม การมุ่งเน้นการจัดกระบวนการโลจิสติกส์สีเขียวเชิงบูรณาการ การประสานความร่วมมือระหว่างกิจการเพื่อชุมชน และการสร้างคุณค่าการตลาดเชิงความสัมพันธ์กับสังคมส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการตอบสนองความ ต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย 2) การตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียส่งผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจ 3) ความผันผวนของสภาพแวดล้อมไม่ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างการตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้กับผลการดำเนินงานของธุรกิจ 4) วิสัยทัศน์ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความตระหนักถึงคุณค่าทางสังคม และความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียส่งผลกระทบเชิงบวกกับความสามารถการจัดการโลจิสติกส์สีเขียว และสอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงคุณภาพ ประโยชน์จากงานวิจัยนี้ก่อให้เกิดการบูรณาการทางทฤษฎีเกี่ยวกับความสามารถการจัดการโลจิสติกส์สีเขียวของธุรกิจอุตสาหกรรมกระดาษในประเทศไทย และสามารถเป็นแนวทางพัฒนาความสามารถการจัดการโลจิสติกส์สีเขียวเพื่อส่งเสริมให้ผลการดำเนินงานของธุรกิจมีประสิทธิภาพมากขึ้น Green logistics management is used to improve logistics activity coupled with environmental protection. The objective of this research is to investigate green logistics management capability effect to stakeholder responsiveness and business performance. In addition, contingency approach proposes the environmental turbulence is moderator as external environment factor and verify the antecedent factors which are transformational leader vision, social value awareness and stakeholder expectation. This is a mixed method researches. The quantitative research is casual relationship and effect and used the qualitative method. Also introduce the phenomenological research by in-dept interview technique with business executives got quality and environment award. The model testing is using the data collected from 194 paper industry business in Thailand. The key informants are business executives of paper industry in Thailand. The research instruments was questionnaire. The hypothesis statistics was multiple regression analysis. The results showed as following: 1) green logistics management capability in term of eco industry commitment establishment, integrated green logistics process orientation, collaboration synergy between corporate for community and social relationship marketing value creation positively affected the stakeholder responsiveness; 2) stakeholder responsiveness positively affected the firm performance; 3) environmental turbulence did not moderate among stakeholder responsiveness and business performance; 4) transformational leader vision, social value awareness and stakeholder expectation positively effects to green logistics management capability. This result was consistent with qualitative research. Finally, this research contributed the theoretical integrate of green logistics management capability of paper industry business in Thailand. It can be used to define the development of green logistics management capability to enhance business performance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectความสามารถการจัดการโลจิสติกส์สีเขียวen_US
dc.subjectการสร้างปณิธานร่วมกันด้านอุตสาหกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectการ มุ่งเน้นการจัดกระบวนการโลจิสติกส์สีเขียวเชิงบูรณาการen_US
dc.subjectการประสานความร่วมมือระหว่างกิจการเพื่อ ชุมชนen_US
dc.subjectการสร้างคุณค่าการตลาดเชิงความสัมพันธ์กับสังคมen_US
dc.subjectวิสัยทัศน์ของผู้นําการเปลี่ยนแปลงen_US
dc.subjectความ ตระหนักถึงคุณค่าทางสังคมen_US
dc.subjectความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียen_US
dc.subjectการตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียen_US
dc.subjectผลการดําเนินงานของธุรกิจen_US
dc.subjectGREEN LOGISTICS MANAGEMENT CAPABILITYen_US
dc.subjectCO INDUSTRY COMMITMENT ESTABLISHMENTen_US
dc.subjectINTEGRATED GREEN LOGISTICS PROCESS ORIENTATIONen_US
dc.subjectCOLLABORATION SYNERGY BETWEEN CORPORATE FOR COMMUNITYen_US
dc.subjectOGISTICS TECHNOLOGY ADAPTATION FOR ENVIRONMENTen_US
dc.subjectSOCIAL RELATIONSHIP MARKETING VALUE CREATIONen_US
dc.subjectTRANSFORMATIONAL LEADER VISIONen_US
dc.subjectSOCIAL VALUE AWARENESSen_US
dc.subjectSTAKEHOLDER EXPECTATIONen_US
dc.subjectENVIRONMENTAL TURBULENCEen_US
dc.subjectSTAKEHOLDER RESPONSIVENESSen_US
dc.subjectBUSINESS PERFORMANCEen_US
dc.titleความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ของความสามารถการจัดการโลจิสติกส์สีเขียว : หลักฐานเชิงประจักษ์ของธุรกิจอุตสาหกรรมกระดาษในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeTHE CAUSAL RELATIONSHIP AND EFFECT OF GREEN LOGISTICS MANAGEMENT CAPABILITY : AN EMPIRICAL EVIDENCE OF PAPER INDUSTRY BUSINESS IN THAILANDen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ศิริพร.pdf4.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.