Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2380
Title: Study of problems in designing to raise artistic value in porcelain. A case study of Ong Rung Sin Plant, Terracotta Products Ratchaburi
การศึกษาปัญหาเพื่อออกแบบการยกระดับคุณค่าทางศิลปะด้านเครื่องเคลือบดินเผา กรณีศึกษา โรงโอ่งรุ่งศิลป์ผลิตภัณฑ์ดินเผา จังหวัดราชบุรี
Authors: Pruedsawarn SUKSAWADI NA AYUTTHAYA
พฤศวาร สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา
Pradiphat Lertrujidumrongkul
ประดิพัทธุ์ เลิศรุจิดำรงค์กุล
Silpakorn University. Decorative Arts
Keywords: เครื่องเคลือบดินเผา
คุณค่าศิลปะ
PORCELAIN
AESTHETICS
Issue Date:  29
Publisher: Silpakorn University
Abstract: This research study Has the following objectives 1) Study raw materials Production process of Ratchaburi Porcelain To try and find ways to expand the porcelain business 2) Studying the problems regarding the perspective of artistic value of Ratchaburi Porcelain That has to general personnel 3) Using the knowledge gained to design conservation art management for porcelain business solutions, a case study of Ong Rung Sin Plant, clay products Ratchaburi With the aim of showing the awareness of Thai society towards the Thai porcelain industry This research began to study the raw materials, the production process, the way of life of the potter in the Ratchaburi community. In order to filter and find the identity, including various factors. That makes Thai people today have a view of the value of Thai porcelain art such as usage, decoration, marketing, aesthetics, production Access from the past to the present             The study found that The main problem is not the work itself, but the understanding of Thai people's views on porcelain. From the past, it was seen as a non-beauty product which, if still lacking the profound aesthetic of original production. This research therefore focuses on the conceptual design of art, public relations, porcelain A case study of Ong Rung Sin Plant, Terracotta Products Ratchaburi Which the study found that Experts in the Thai porcelain industry have an opinion about the overall quality, good quality. As well as being able to be researched for the next one to expand and are likely to be able to actually become a project
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) ศึกษากระบวนการทางเครื่องเคลือบดินเผาของโรงโอ่งรุ่งศิลป์ผลิตภัณฑ์ดินเผา จังหวัดราชบุรี เป็นกรณีศึกษา 2) วิเคราะห์ปัญหาทางด้านการผลิต การตลาด และแนวทางการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ 3) นำองค์ความรู้ที่ได้จากข้อ 1,2 มาออกแบบแนวความคิดการบริหารจัดการด้วยวิธีการทางศิลปะและการออกแบบโดยมีความมุ่งหวังที่จะแสดงจิตรับรู้ให้กับสังคมไทยที่มีต่อวงการเครื่องเคลือบดินเผาไทย การวิจัยนี้เริ่มศึกษาตั้งแต่ วัตถุดิบ กระบวนผลิต วิถีชีวิตของช่างปั้นในชุมชนราชบุรี เพื่อกลั้นกรองจนพบอัตลักษณ์รวมถึงปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้คนไทยในปัจจุบันที่มีมุมมองคุณค่าศิลปะทางเครื่องเคลือบดินเผาไทย เช่น การใช้งาน การตกแต่ง การตลาด สุนทรียการผลิต การเข้าถึงตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน การศึกษาพบว่า ปัญหาหลักไม่ใช่ตัวผลงานแต่เป็นเรื่องความเข้าใจในมุมมองของคนไทยที่มีต่อเครื่องเคลือบดินเผา ตั้งแต่อดีตที่มองเป็นเพียงแค่ของใช้งานที่ไร้ความงามซึ่งหากจะยังขาดความลึกซึ้งสุนทรีย์ของการผลิตแบบดั่งเดิม โดยวิจัยครั้งนี้จึงมุ่งเน้นไปการออกแบบแนวความคิดศิลปะประชาสัมพันธ์เครื่องเคลือบดินเผา กรณีศึกษาโรงโอ่งรุ่งศิลป์ผลิตภัณฑ์ดินเผา จังหวัดราชบุรี โดยผลการศึกษาพบว่า ผู้เชี่ยวชาญในวงการเครื่องเคลือบดินเผาไทยมีความเห็นเกี่ยวกับคุณภาพโดยรวมมีคุภาพที่ดี รวมถึงสามารถเป็นวิจัยให้คนรุ่งหลังต่อยอดได้และมีแนวโน้มที่สามารถขึ้นเป็นโครงการได้จริง
Description: Master of Fine Arts (M.F.A.)
ศิลปมหาบัณฑิต (ศ.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2380
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60156310.pdf5.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.