Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2414
Title: Principles of delegation as perceived by the Secondary School Administrator
หลักการมอบหมายงานตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา
Authors: Wannasiri SRANGIEM
วรรณสิริ สร้างเอี่ยม
Prasert Intarak
ประเสริฐ อินทร์รักษ์
Silpakorn University. Education
Keywords: หลักการมอบหมายงานของผู้บริหารโรงเรียน
PRINCIPLE OF WORK DELEGATION IN THE OPINION
Issue Date:  29
Publisher: Silpakorn University
Abstract: The purposes of this research were to determine 1) The major components of the Principles of delegation at perceive by the secondary school administrator , 2) The differences of the Principles of delegation at perceive by the secondary school administrator when classify by the size of school and 3) The result of the confirmation of the principles of delegation as perceived by the secondary school administrator. The instruments employed for data collection were an unstructured interview, an opinionnaire and a checklist for verify of the components the sample of this study were 336 secondary school administrators under the Office of the Basic Education Commission. The statistic for analyzing the data were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, confirmatory factor analysis, F-test and content analysis. The findings of this study were as follows: 1. There were 7 major components of the principles of delegation as perceived by the secondary school administrator 1. Principle of Functional Definition, 2. Principle of Result Expected, 3. Principle of Partity of Authority and Responsibility, 4. Principle of Unity of Command, 5. Principle of Absoluteness of responsibility, 6. The Scalar Principle and 7. Principle of Exception. 2. The differences of the principles of delegation as perceived by the secondary school administrator found that two components were different at .05 such as Principle of Unity of Command and Principle of Exception. 3. The result of the confirmation of the model of the principles of delegation were accurate, appropriate possible, and utility.
การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1. องค์ประกอบหลักการมอบหมายงานตามทัศนะ ของผู้บริหารในโรงเรียนมัธยมศึกษา 2. ความแตกต่างของหลักการมอบหมายงานตามทัศนะของ ผู้บริหารในโรงเรียนมัธยมศึกษาเมื่อจำแนกตามขนาดโรงเรียน และ 3. ผลการยืนยันหลักการมอบหมาย งานตามทัศนะของผู้บริหารในโรงเรียนมัธยมศึกษา เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล คือ 1. แบบสัมภาษณ์ แบบไม่มีโครงสร้าง 2. แบบสอบถามความคิดเห็น 3. แบบสอบถามเพื่อยืนยัน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 336 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percentage) มัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory factor analysis) สถิติทดสอบค่าเอฟ (F-test) และการวิเคราะห์ เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. หลักการมอบหมายงานตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียน ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ คือ 1. หลักของการนิยามหน้าที่ 2. หลักของการคาดหวังความสำเร็จในการปฏิบัติ 3. หลักการใช้อำนาจ และความรับผิดชอบ 4. หลักความเป็นเอกภาพในการบังคับบัญชา 5. หลักของความรับผิดชอบของ ผู้มอบอำนาจ 6. หลักของสายบังคับบัญชา และ 7. หลักของข้อยกเว้น 2. ความแตกต่างหลักการมอบหมายงานตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา เมื่อจำแนกตามขนาดของโรงเรียน พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จำนวน 2 องค์ประกอบคือ หลักของเอกภาพในการบังคับบัญชา และหลักของข้อยกเว้น 3. ผลการยืนยันหลักการมอบหมายงานตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่เห็นว่ามีความถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปได้และเป็นประโยชน์ สอดคล้องกับกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีของการวิจัย
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2414
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58252921.pdf5.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.