Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2517
Title: | A study of Identity of Place of Yaowarat and impact of Blue line Underground train การศึกษาอัตลักษณ์ทางสถานที่ของเยาวราชและผลกระทบจากรถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงิน |
Authors: | Pailin SAMPAO ไพลิน สำเภา RUJIROTE ANAMBUTR รุจิโรจน์ อนามบุตร Silpakorn University. Architecture |
Keywords: | เยาวราช ความเป็นสถานที่ อัตลักษณ์ทางสถานที่ อัตลักษณ์ Yaowarat Place Identity of Place Identity |
Issue Date: | 10 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The purpose of this research is to study the concept of place and identity of place. It studies the components of the environment relating to the identity of place of Chinatown Yaowarat in order to predict the impact of the operation of the Blue Line underground train in the area.Identity of place in this research is a number of distinctive features of the place which indicate the fact of being what the place is.
Data collection was done by photograph posted by public on social media with labeled the word “Yaowarat” These photos were grouped into category of image of environments and then used in a questionnaire asking about the identity of place of Yaowarat. The questionnaires respondents were 2 main different sample groups; the tourist and the local people who live in Yaowarat.
Data analysis revealed that while there were similarities between local people in Yaowarat and tourist. The opinions of residents and tourist indicate that physical Chinese characteristics of building were an important part of the identity of Yaowarat. Differences were found, While Yaowarat residents paid more attention to the image of trading activities and daily life than physical features, the tourists paid more attention to physical features of Chinese characteristics and its history related stories features over trading activities appeared the photos.
Research findings lead to conclusion that based on the concept of place,The identity of place of Yaowarat is linked to the way of life and the roots of the local people in Yaowarat. There are 3 elements that create the identity of the place of Yaowarat; Chinese characteristics, the trading activities, and the old community. It is apparent that the identity is different in each sub-area of Yaowarat. Based on such findings, Yaowarat area may be divided into sub-areas and guidelines for each were their formulated as recommendations in order to maintain the identity of place of Yaowarat against the changes that way be brought about by impacts of the blue line underground train. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องความเป็นสถานที่และ อัตลักษณ์ทางสถานที่ และศึกษาองค์ประกอบของสภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดอัตลักษณ์ทางสถานที่ของเยาวราช เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อเสนอแนะที่จะรองรับผลระทบจากรถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงิน อัตลักษณ์ทางสถานที่ในงานวิจัยนี้ คือลักษณะเด่นบางอย่างในสถานที่ ที่บ่งบอกตัวตนความเป็นสถานที่นั้น ๆ ที่เกิดจากลักษณะที่มีเพียงหนึ่ง หรือเอกลักษณ์ วิธีวิจัยทำโดยเก็บข้อมูลภาพถ่ายที่ระบุถึงเยาวราชจากโซเชียลมีเดีย นำมาจัดกลุ่มภาพถ่ายออกเป็นสภาพแวดล้อมแบบต่าง ๆ และนำภาพเหล่านั้นมาใช้เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่ออัตลักษณ์ทางสถานที่ของเยาวราช โดยใช้ภาพที่มีสภาพแวดล้อมครบทุกแบบในเยาวราช นำไปถามกับกลุ่มตัวอย่างต่างกัน 2 กลุ่ม คือนักท่องเที่ยว และคนในชุมชนเยาวราช ผลจากการเก็บข้อมูลพบว่า อัตลักษณ์ทางสถานที่ของคนในเยาวราช และนักท่องเที่ยวมีความคล้ายกันตรงที่มองว่าลักษณะร่วมแบบจีนนั้นเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดที่ทำให้เกิดอัตลักษณ์ แต่จะต่างกันตรงที่คนในเยาวราชจะให้น้ำหนักกับกิจกรรมค้าขายมากกว่าทางกายภาพ ในขณะที่นักท่องเที่ยวจะให้น้ำหนักไปที่กายภาพที่มีลักษณะร่วมแบบจีนไชน่าทาวน์ที่ชัดเจน และรองลงมาคือกายภาพที่ดูเก่าแก่ มากกว่ากิจกรรมการค้าขาย ผลของข้อมูลนำไปสู่ข้อสรุปที่อ้างอิงจากแนวคิดเรื่องความเป็นสถานที่ คืออัตลักษณ์ทางสถานที่ของเยาวราชควรจะยึดโยงกับวิถีชีวิต และรากเหง้าของคนในเยาวราช มีองค์ประกอบที่ทำให้เกิดอัตลักษณ์ทางสถานที่ของเยาวราช 3 แบบซ้อนทับกันอยู่ คือ ลักษณะร่วมแบบจีน กิจกรรมค้าขาย และชุมชนเก่าแก่ ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้ ปรากฎเป็นอัตลักษณ์ที่สำคัญต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ย่อยในเยาวราช ทำให้ต้องแบ่งพื้นที่ย่อยเพื่อวิเคราะห์ข้อเสนอแนะสำหรับเป็นแนวทางการรักษาอัตลักษณ์ทางสถานที่ ให้เหมาะสมกับการพัฒนาที่มาจากผลกระทบจากรถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงิน |
Description: | Master of Landscape Architecture (M.L.A.) ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.สถ.ม.) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2517 |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58060206.pdf | 31.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.